การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ชนิด Preeclampsia โดยใช้หลักการจากพยาธิวิทยาสู่มาตรฐานการพยาบาลที่ดีในระยะคลอด

ผู้แต่ง

  • เจิดนภา แสงสว่าง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สงขลา คณะพยาบาลศาสตร์สถาบันพระบรมราชชนก
  • ปาริชาต ชูประดิษฐ์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สงขลา คณะพยาบาลศาสตร์สถาบันพระบรมราชชนก
  • วนิดา วงศ์มุณีวรณ์ โรงพยาบาลหาดใหญ่
  • เพ็ญศรี ศรีอินทร์ โรงพยาบาลหาดใหญ่
  • พัชรินทร์ เงินทอง วิทยาลัยเชียงราย

คำสำคัญ:

ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์, พยาธิวิทยา, การพยาบาลที่มีมาตรฐาน, ระยะคลอด

บทคัดย่อ

พยาบาลผดุงครรภ์ต้องมีความรู้จากหลักการพยาธิวิทยาของโรค เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลที่มีมาตรฐานที่ดีและมีประสิทธิภาพ ทักษะปฏิบัติการพยาบาลที่ดีและมีประสิทธิภาพจะต้องอิงจากหลักคิดวิเคราะห์ที่มีความสอดคล้องและเป็นไปตามพยาธิวิทยาของโรค ผู้ศึกษาจึงมีความสนใจศึกษาพยาธิสรีรวิทยาของภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ชนิด Preeclampsia ที่ส่งผลให้เกิดอาการและอาการแสดงในแต่ละระบบของร่างกาย จนก่อให้เกิดการสูญเสียหน้าที่ของอวัยวะเหล่านั้น เพื่อนำมาวิเคราะห์ร่วมกับอาการที่เกิดขึ้นกับสตรีตั้งครรภ์ และประยุกต์ใช้กับมาตรฐานกิจกรรมการพยาบาลของภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ในระยะคลอด มาตรฐานกิจกรรมการพยาบาล เพื่อป้องกันผลข้างเคียงของยากันชักและยาลดความดันในภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ในระยะคลอด และมาตรฐานกิจกรรมการพยาบาลของภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ในด้านการดูแลความก้าวหน้าของการคลอด ซึ่งเป็นการช่วยตัดสินใจในการเลือกการรักษาและการพยาบาลระหว่างพยาบาล แพทย์ และสตรีตั้งครรภ์เกี่ยวกับแนวทางของการดูแลที่ดีที่สุด เพื่อให้เกิดความปลอดภัยทั้งมารดาและทารกต่อไป

References

ACOG Committee on Obstetric Practice. (2019). ACOG Practice Bulletin No. 203: Chronic Hypertension in Pregnancy. Obstetrics & Gynecology, 133(1), 26-50.

ACOG Committee on Obstetric Practice. (2020). ACOG Practice Bulletin No. 222: Gestational Hypertension and Preeclampsia. Obstetrics & Gynecology, 135(6), 237-260.

Agrawal, A., & Wenger, N. K. (2020). Hypertension During Pregnancy. Current Hypertension Reports, 22(9), 1-9.

Braunthal, S., & Brateanu, A. (2019). Hypertension in Pregnancy: Pathophysiology and Treatment. SAGE Open Medicine, 7, 2050312119843700.

Croke, L. M. (2019). Managing Chronic Hypertension in Pregnant Women: ACOG Releases Updated Practice Bulletin. American Family Physician, 100(12), 782-783.

Cunningham, F. G., Leveno, K. J., Bloom, S. L., Hauth, J. C., Rouse, D. J., & Spong, C. Y. (2018). Williams Obstetrics (25rd ed.). United States: McGraw-Hill.

Facca, T. A., Famá, E. A. B., Mastroianni-Kirsztajn, G., & Sass, N. (2020). Why Is Preeclampsia Still an Important Cause of Maternal Mortality Worldwide?. Revista Brasileira de Ginecologia e Obstetrícia, 42, 586-587.

Fenton, C., Hobson, S. R., Wallace, E. M., & Lim, R. (2014). Future Therapies for Pre‐Eclampsia: Beyond Treading Water. Australian and New Zealand Journal of Obstetrics and Gynaecology, 54(1), 3-8.

Grünebaum, A., McCullough, L. B., & Chervenak, F. A. (2020). Most Intended Home Births in the United States Are Not Low Risk: 2016-2018. American Journal of Obstetrics & Gynecology, 222(4), 384-385.

Lowdermilk, D. L., Perry, S. E., Cashion, K., & Alden, K. R. (2012). Maternity and Women Health Care (10th ed.). St. Louis: Mosby.

Martin, S. R., & Edwards, A. (2019). Pulmonary Hypertension and Pregnancy. Obstetrics & Gynecology, 134(5), 974-987.

Nirupama, R., Divyashree, S., Janhavi, P., Muthukumar, S. P., & Ravindra, P. V. (2021). Preeclampsia: Pathophysiology and Management. Journal of Gynecology Obstetrics and Human Reproduction, 50(2), 101975.

Pollock, J. D., & Makaryus, A. N. (2021). Physiology, Cardiac Cycle. In StatPearls [Internet]. StatPearls Publishing.

Pongsittisak, W. (2016). Fluid Therapy in Critically Ill Patients for Reduction of Acute Kidney Injury. Vajira Medical Journal: Journal of Urban Medicine, 60(4), 287-296.

Poon, L. C., Shennan, A., Hyett, J. A., Kapur, A., Hadar, E., Divakar, H., et al. (2019). The International Federation of Gynecology and Obstetrics (FIGO) initiative on Pre-Eclampsia. A Pragmatic Guide for First-Trimester Screening and Prevention, 1(Suppl 1), 1-33.

Rukleng, S. (2017). Polypharmacy and Blood Pressure Control among Hypertensive Patients in Phatthalung Province. The Southern College Network Journal of Nursing and Public Health, 4(2), 77-93.

Wisner, K. (2019). Gestational Hypertension and Preeclampsia. MCN. The American Journal of Maternal/Child Nursing, 44(3), 170.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-03-09