ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ ในอำาเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ ในอำาเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์

ผู้แต่ง

  • ปัณณทัต ตันธนปัญญากร ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
  • อารีย์ สงวนชื่อ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ
  • รัตนาภรณ์ อาษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ

คำสำคัญ:

ภาวะสุขภาพจิต, ผู้สูงอายุ, แรงสนับสนุนทางสังคม, สัมพันธภาพในครอบครัว

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวาง เพื่อศึกษาระดับของภาวะสุขภาพจิตและปัจจัย
ที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ ในอำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ กลุ่มตัวอย่างคือ
ผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในอำเภอนางรอง จำนวน 375 ราย ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน
เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสอบถาม ระหว่างเดือนกรกฎาคม ถึง เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2560 เครื่องมือที่ใช้
ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย 6 ส่วน ได้แก่ 1) แบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล
2) แบบประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน ดัชนีบาร์เธลเอดีแอล 3) แบบวัดแรงสนับสนุน
ทางสังคม 4) แบบวัดสัมพันธภาพในครอบครัว 5) แบบสัมภาษณ์การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน
6) แบบประเมินดัชนีชี้วัดสุขภาพจิตคนไทยฉบับสั้น วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติการทดสอบ
ไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีภาวะสุขภาพจิตอยู่ในระดับเท่ากับบุคคลทั่วไป (ร้อยละ 49.3)
รองลงมา คือ สุขภาพจิตดีกว่าคนทั่วไป (ร้อยละ 33.6) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสุขภาพจิตของ
ผู้สูงอายุ ในอำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ ได้แก่ สถานภาพสมรส ความพอเพียงของรายได้ แรงสนับสนุน
ทางสังคม สัมพันธภาพในครอบครัว และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน (p<.05) ผลจากการศึกษา
ในครั้งนี้ จะเป็นข้อมูลสำหรับการนำไปใช้ในการวางแผนพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ
โดยเน้นการส่งเสริมสัมพันธภาพในครอบครัว สนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีรายได้ที่เพียงพอ และส่งเสริมการมี
ส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชนของผู้สูงอายุ เพื่อยกระดับภาวะสุขภาพจิตของผู้สูงอายุให้ดีต่อไป

References

REFERENCES
1. Institute for Population and Social
Research, Mahidol University. Mahidol
population gazette. Nakornpathom;
2017. (in Thai).
2. Foundation of Thai Gerontology Research
and development institute. Situation
of the Thai elderly 2010. Bangkok;
2011. (in Thai).
3. Gray, R. Determinants of mental health
among older persons. Journal of Thai
Population Association, 2012; 3 (2):
45-63. (in Thai).
4. Department of Mental Health. The
literature reviews report about knowledge
of mental health. Nonthaburi: Ministry
of Public Health; 2013.
5. Nangrong District Health Offce. Nangrong
District population statistical. Burirum
Province; 2017. (in Thai).
6. Department of Medical Service, Ministry
of Health. Activities of daily living
index assessment [Online]. 2017 [Cited
2017July 11.]. Available from: http://
happynetwork.org/upload/forum/
pic5552fe2898d4a. (in Thai).
7. Nanthamongkolchai, S. The way of
life of the elderly female who take
care of grandchild in rural area of the
Northern, Thailand. Journal of Public
Health, 2011: 41 (1); 29-38. (in Thai).
8. Chinsangnet, P. Life satisfaction of the
elderly and Its relation with self-care
behaviors and the family relationship
in Eastern Seaboard of Chonburi.
Dissertation of master degree of science.
Mahidol University; 1995. (in Thai)
9. Tiyaratthanakoon, M. Factors related
to mental health problem among
elderly in Bangkok. Dissertation of
master degree of Arts in Population
and Social Research. Mahidol University;
1993. (in Thai).
10. Department of Mental Health. The Thai
mental health indicator-5 (TMHI-15)
[Online]. 2017 [Cited 2017July 13.].
Available from: https://www.dmh.
go.th/test/thaihapnew/thi15/thi15.
asp. (in Thai).
11. Muijeen, K. Determinants of mental
health among aging in Pathum Thani
Province. Journal of Science and
Technology Thammasat University,
2015: 23 (2); 306-318. (in Thai).
12. Erikson, EH. Childhood and society.
2nd Ed. New York; 1963.
13. Sanitya, R. Factors influencing
psychological health of Thai elderly
population Dissertation of master
degree of Arts program in Demography.
Chulalongkorn University; 2012. (in Thai).
14. Wongpoom, T. Factors influencing
psychological health of Thai elderly
population in Chiangmai Province.
Dissertation of master degree of
Sciences. Ramkhamhaeng University;
2010. (in Thai).
15. Kasangam, P. Mental health status of
elderly in Maptaphut municipality.
Dissertation of master degree of Public
Administration Program in Public
Administration. KhonKaen University;
2008. (in Thai).
16. Klarob, N. Factor related to mental
health among elderly people in Rayong
Province. Term Paper of Bachelor of
Public Health program in public health.
Mahidol University; 2555. (in Thai).
17. Cobb. Constructivism in Mathematics
and Science Education. Education
Researcher, 1994: 23(7); 1-4.
18. Havighurst, RJ. Human Development
and Education. New York: Mckay
Company; 1953.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-07-02