การประเมินหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง สาขาการบริหารการพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก

ผู้แต่ง

  • วาสนา นัยพัฒน์ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก 371/6 ถ.ราชวิถี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

คำสำคัญ:

Program evaluation, Nursing Specialty in Nursing Administration Program, Royal

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

                การวิจัยเชิงประเมินนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินบริบทโครงสร้างหลักสูตร ปัจจัย         นำเข้ากระบวนการเรียนการสอน  ผลผลิตของหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการ            บริหารการพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก วิเคราะห์ความคิดเห็นเกี่ยวกับการนำความรู้ และประสบการณ์ไปประยุกต์ใช้ในการทำงานภายหลังสำเร็จการศึกษา ความพึงพอใจของ ผู้ร่วมงาน การเปลี่ยนแปลงทางด้านความคิด การกระทำ เทคนิคการบริหารจัดการ ความต้องการการศึกษาต่อเนื่องทางการบริหารการพยาบาล ข้อเสนอแนะต่อการพัฒนาหลักสูตร ของผู้สำเร็จการศึกษาและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม จำนวน 80 ข้อ ที่มีค่าความเที่ยง .96  กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรฯ รุ่นที่ 5 และ รุ่นที่ 6 ในปีการศึกษา 2550 และ 2551 ตามลำดับ รวมทั้งหมด 99 คน เลือกผู้ร่วมงานและผู้บังคับบัญชา ของผู้สำเร็จการศึกษาอย่างเจาะจงตามเกณฑ์เพื่อทำการสัมภาษณ์อย่างไม่เป็นทางการ ทางโทรศัพท์หรือเป็นรายบุคคลตามความสะดวกของผู้รับการสัมภาษณ์จำนวน 20 คน ตามการอิ่มตัวของข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และ การวิเคราะห์เนื้อหา

                ผลการวิจัย พบว่า ผู้สำเร็จการศึกษาประเมินบริบทโครงสร้างหลักสูตร ปัจจัยนำเข้า กระบวนการเรียนการสอน ผลผลิตของหลักสูตรมีความเหมาะสมอยู่ในระดับสูง ผู้ร่วมงาน และผู้บังคับบัญชาส่วนใหญ่เห็นการเปลี่ยนแปลงในตัวผู้สำเร็จการศึกษาอย่างเด่นชัดในช่วง 3-6 เดือนแรกภายหลังสำเร็จการศึกษาในด้านความมุ่งมั่นที่จะนำแนวคิด ความรู้ทางการบริหาร ที่ได้เรียนมาประยุกต์ใช้ในการทำงาน ส่วนการเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้เด่นชัด คือเรื่องของบุคลิกภาพ

Abstract

This evaluation research study was aimed to evaluate context, input, process, and output of the Nursing Specialty in Nursing Administration Program at the Royal Thai Army Nursing College, to analyze the graduates’ opinions of the implication of their knowledge and experiences in their work after graduation, their colleagues’ satisfaction, changes of their idea, conducts, management techniques, and their needs for nursing administration continuing education and the suggestions for program development of the graduates and stakeholders. The data were collected by using 80 items of a rating scale questionnaire with its reliability of .96. The totally 99 graduates of the Program class 5 and class 6 who fulfilled the program in the academic year of 2007 and 2008 respectively were asked to fill the questionnaire. Twenty of their colleagues and their superiors were purposively selected based on various institutes and data saturation to be informally interviewed by phones or in person depending on their conveniences. The data were analyzed by using descriptive statistics and content analysis.

The results were found as follows: The graduates evaluated the context, input, process, and output of the Nursing Specialty in Nursing Administration Program being appropriated in the high level. Most of their colleagues and their superiors noticed dominant changes in graduates within 3-6 months after the graduation. The graduates expressed their high intention to adopt their ideas and administration knowledge that earned for the program into their work. In additions, the major change of them was found in their personality. When the time passed by, the consistency of their conducts could be declined, especially when they faced with work obstacle. Therefore, the refresh training program should be continuously set up to allow the graduates to exchange their knowledge and experiences in nursing administration.

เผยแพร่แล้ว

2012-06-14

ฉบับ

บท

บทความวิจัย