การประยุกต์ สบช.โมเดลในการสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก
บทคัดย่อ
ปัญหาฟันผุสามารถก่อให้เกิดความเจ็บปวด การติดเชื้อ และสร้างปัญหาการบดเคี้ยวอาหาร มีผลต่อน้ำหนัก การเจริญเติบโตและบุคลิกภาพของเด็ก และที่สำคัญคือปัญหาดังกล่าวยังส่งผลกระทบต่อการเรียน ทำให้เด็กหยุดเรียนอันเนื่องจากการเจ็บปวดหรือต้องไปรับการรักษาทางทันตกรรม และปัญหาฟันผุนำไปสู่การสูญเสียฟันในวัยเด็ก และอาจสะสมจนต้องสูญเสียฟันทั้งปากในวัยสูงอายุตามมา การควบคุมป้องกันโรคฟันผุสามารถดำเนินการได้ 3 ระดับ ได้แก่ 1)การป้องกันโรคระดับปฐมภูมิ (Primary prevention) เป็นการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ก่อนที่จะเกิดฟันผุ 2)การป้องกันโรคระดับทุติยภูมิ (Secondary prevention) เป็นการตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากเพื่อรักษาในระยะเริ่มต้นก่อนที่จะเป็นรูผุชัดเจน และ 3) การป้องกันโรคระดับตติยภูมิ (Tertiary prevention) เป็นการรักษาฟันที่ผุเป็นรูแล้วด้วยการอุดฟัน จากแนวคิด สบช.โมเดล ดำเนินมาตรการการจัดการโรคฟันผุ โดยให้ความสำคัญกับการป้องกันโรคฟันผุอย่างมากเพราะหากรักษาฟันได้ทันท่วงทีก่อนที่จะมีความรุนแรงมากขึ้นจะช่วยประหยัดทั้งในด้านการเงิน และทรัพยากรในส่วนของทางด้านทัตกรรมเป็นอย่างมาก การแบ่งสีสามารถทำให้เห็นถึงความรุนแรงของโรคและสามารถที่จะทำการรักษาได้ทัน สำหรับแนวทางหลังจากการคัดกรองแล้ว ในส่วนของงานรักษาก็สามารถส่งต่อได้ตามขั้นตอน
References
กมลมาลย์ วิรัตน์เศรษฐสิน. (2560). สาธารณสุขและการดำเนินงานชุมชน: จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ.
กรุงเทพฯ:
จันทพร มณีเสน.(2563).การศึกษาผลของการใช้รางจืดเป็นยาต้านพิษ.วารสารสาธารณสุขและวิทยาศาสตร์ สุขภาพ,ปีที่3,ฉบับที่1,หน้า28-40,ม.ค.-เม.ย.2563.
จุฑามาศ ภูนีรับ.(2558).ผลของการดื่มชาชงรางจืด(Thunbergia laurifollia Lindl) ต่อระดับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสในเกษตรกรที่มีสารกําจัดแมลงตกค้าง.วิทยนิพนธ์ปริญญาวิทยาศาตรมหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ฐานข้อมูลเครื่องยาสมุนไพร
ชุติมา ไตรรัตน์วรกุล. (2554). ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 (พิมพ์ครั้งที่ 4).
กรุงเทพฯ: เบสท์ บุ๊ค.
ทีปตวริทธิ์ หาญบุญญาพิพัฒน์(2563).วิทยานิพนธ์ เรื่อง การพัฒนาตํารับยาธาตุในรูปแบบผงฟองฟู่โดยhttps://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/431วิทยาศาตรมหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
ฐานข้อมูลเครื่องยาสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาละชัยอุบลราชธานี.(มปป)..ย่านาง.เข้าถึงได้จาก.https://apps.phar.ubu.ac.th/thaicrudedrug/main.php?action=viewpage&pid=148
ประพันธ์ กาญจนดุษฎี และเปรมจิตต์ อินทร์สะอาด. (2561). แนวทางในการพัฒนาการเคลือบหลุมร่องฟันให้ยึดติดในฟันกรามแท้ซี่แรกของนักเรียนประถมศึกษาจังหวัดอุทัยธานี. สวรรค์ประชารักษ์เวชสาร, 15(3), 57-70.
เย็นหทัย แน่นหนา, ธิดา อมร และ นันทวัน เมืองนิล. (2561). การศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมในการลดสารพิษตกค้างในใบกะเพราโดยใช้ถ่านหุงต้มเป็นตัวดูดซับสารพิษ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. 2(2)
วริศรา พานิชเกรียงไกร, อังคณา สมนัสทวีชัย, กัญจนา ติษยิคม, สุพล ลิมวัฒนานนท์ และจุฬาภรณ์ สุพล
ลิมวัฒนานนท์. (2560). การใช้บริการทันตกรรมของประชาชนไทย: ผลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ.2558. วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข, 11(2), 170-181.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี. (2566). ข้อมูลเพื่อตอบสนอง Service Plan สาขาสุขภาพช่องปาก. สืบค้นเมื่อ 11 มกราคม 2566, จาก https://spb.hdc.moph.go.th/hdc.
สำนักทันตสาธารณสุข. (2561). รายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 8
ประเทศไทย พ.ศ. 2560. กรุงเทพฯ: สามเจริญพานิชย์.
สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.(2560)องค์ความรู้เกี่ยวกับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืชโดยกระดาษทดสอบโคลีนเอสเตอเรส(Cholinesterase reactive paper)สำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิ.(พิมพ์ครั้งที่ 2).ศูนย์สื่อและสิ่งพิมพ์แก้วเจ้าจอม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
สุดาดวง กฤษฎาพงษ์ และพนิดา ธัญญศรีสังข์. (2562). น้ำตาลอิสระ: สาเหตุของโรคฟันผุ. วิทยาสารทันตแพทย์ศาสตร์, 69(2), 110-125.
สุจินต์โตวิวิชญ์. (2556). การตรวจโคลีนเอสเตอเรสในเลือดด้วยกระดาษทดสอบพิเศษ Reactive Paper. วารสารองค์การเภสัชกรรม, 3(20), 36-44, กรกฎาคม-กันยายน. ธีรวรรณ สุวรรณ์ปรัชสิญา นราฐปนนท์
Alanazi, K. J., Subhan, S. A., Alshehri, H. M., Aljaload, M. M., Aljafary, M. H., Alazmi, M. M. &
Fawaz, A. A. (2017). Influence of Tooth Brush Grips and Brushing Techniques on Plaque Removal Efficacy. J Dent Oral Health, 4, pp. 1-7.
Lee, S.M., Kim, H.N., Lee, J.H., Kim, J.B. (2019). Association between maternal and child oral health and dental caries in Korea. J Public Health, 27, 219–227.
Sitthisettapong, T., Tasanarong, P., Phantumvanit, P. (2021). Strategic Management of Early Childhood Caries in Thailand: A Critical Overview, Frontiers in Public Health, 9 (664541). 1-7. DOI: 10.3389/fpubh.2021.664541
Walsh, T., Worthington, H.V., Glenny, A.M., Marinho, V.C., & Jeroncic, A. (2019). Fluoride toothpastes of different concentrations for preventing dental caries. Cochrane Database of Systematic Reviews, 3(3), CD007868.

Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2025 วารสารสภาการสาธารณสุขชุมชน

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
- บทความหรือข้อคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารสภาการสาธารณสุขชุมชน ที่เป็นวรรณกรรมของผู้เขียน บรรณาธิการ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
- บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของ วารสารสภาการสาธารณสุขชุมชน