การปนเปื้อนของเชื้อแบคทีเรียในบาดแผลที่ได้รับบาดเจ็บบริเวณชายทะเล ณ โรงพยาบาล มหาวิทยาลัยบูรพา

Main Article Content

ภาคภูมิ บำรุงราชภักดี
ปองทิพย์ อุ่นประเสริฐ
สันติชัย ดินชูไท
ตระการ ไชยวานิช

บทคัดย่อ

บริบท การเกิดบาดแผลบริเวณชายทะเลอาจมีการปนเปื้อนเชื้อแบคทีเรียที่แตกต่างจากบาดแผลทั่วไป อุบัติการณ์
ชนิดของเชื้อแบคทีเรียที่ปนเปื้อน ผลการรักษา และภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยกลุ่มนี้เป็นอย่างไร
วัตถุประสงค์ ศึกษาหาอุบัติการณ์ และชนิดของเชื้อแบคทีเรียปนเปื้อนบาดแผลที่ได้รับบาดเจ็บบริเวณชายทะเล
ที่มารักษา ณ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพา ปัจจัยที่มีผลต่อการปนเปื้อนเชื้อแบคทีเรียในบาดแผลที่ได้
รับบาดเจ็บบริเวณชายทะเล
วิธีการศึกษา ท�ำการศึกษาแบบไปข้างหน้า เก็บข้อมูลตั้งแต่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2560 ถึง วันที่ 31 พฤษภาคม
พ.ศ. 2561 ระยะเวลา 14 เดือน โดยเก็บข้อมูลทั่วไป ข้อมูลเกี่ยวกับบาดแผล ข้อมูลการรักษา ยาปฏิชีวนะ
ที่ได้รับเก็บชิ้นเนื้อในบาดแผลส่งเพาะเชื้อแบคทีเรียทั้งแบบต้องการออกซิเจน และแบบไม่ต้องการออกซิเจน
รายงานอุบัติการณ์ของเชื้อแบคทีเรียที่พบ วิเคราะห์ตัวแปรที่สัมพันธ์กับการปนเปื้อนเชื้อแบคทีเรียในบาดแผล
ที่ได้รับบาดเจ็บบริเวณชายทะเล
ผลการศึกษา เก็บข้อมูลผู้ป่วย 100 คน เพศชาย 81 คน เพศหญิง 19 คน อายุเฉลี่ย 28.3 ปี (10-70 ปี) ระดับ
การศึกษามีความสัมพันธ์กับการปนเปื้อนเชื้อแบคทีเรียอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ p = 0.017 การศึกษาระดับ
มัธยมศึกษามีโอกาสตรวจพบเชื้อแบคทีเรียมากขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับระดับการศึกษาอื่น odds ratio = 3.67
(95% CI 1.47-9.16), p = 0.005 สาเหตุการเกิดบาดแผลมีความสัมพันธ์กับการปนเปื้อนเชื้อแบคทีเรียอย่าง
มีนัยส�ำคัญทางสถิติ p = 0.023 บาดแผลเกิดจากการกระทบกระแทกกับบุคคลอื่นพบว่า มีโอกาสตรวจพบ
การปนเปื้อนเชื้อแบคทีเรียมากขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับสาเหตุอื่น odds ratio = 4.5 (95% CI 1.46-14.36),
p = 0.009 ระยะเวลาเกิดบาดแผลมีความสัมพันธ์กับการปนเปื้อนเชื้อแบคทีเรียอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ
p = 0.037 เวลาที่น้อยกว่า 30 นาที มีโอกาสตรวจพบเชื้อแบคทีเรียมากขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มระยะ
เวลาตั้งแต่ 30 นาทีขึ้นไป odds ratio = 2.9 (95% CI 1.11-7.71), p = 0.029 อุบัติการณ์การปนเปื้อนเชื้อ
แบคทีเรียในบาดแผลที่ได้รับบาดเจ็บบริเวณชายทะเลเท่ากับร้อยละ 30 พบ Staphylococcus epidermidis
ร้อยละ 63.3 viridans group streptococci (VGS) ร้อยละ 20 Staphylococcus aureus ร้อยละ 10 และ
Proteus vulgaris ร้อยละ 6.7 ในการศึกษานี้ไม่พบผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนจากการรักษาบาดแผล
สรุป การศึกษาระดับมัธยมศึกษา บาดแผลที่เกิดจากการกระทบกระแทกกับบุคคลอื่น และระยะเวลาเกิด
บาดแผลน้อยกว่า 30 นาที มีโอกาสมากขึ้นในการตรวจพบการปนเปื้อนเชื้อแบคทีเรียในบาดแผลที่ได้รับบาดเจ็บ


บริบท การเกิดบาดแผลบริเวณชายทะเลอาจมีการปนเปื้อนเชื้อแบคทีเรียที่แตกต่างจากบาดแผลทั่วไป อุบัติการณ์
ชนิดของเชื้อแบคทีเรียที่ปนเปื้อน ผลการรักษา และภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยกลุ่มนี้เป็นอย่างไร
วัตถุประสงค์ ศึกษาหาอุบัติการณ์ และชนิดของเชื้อแบคทีเรียปนเปื้อนบาดแผลที่ได้รับบาดเจ็บบริเวณชายทะเล
ที่มารักษา ณ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพา ปัจจัยที่มีผลต่อการปนเปื้อนเชื้อแบคทีเรียในบาดแผลที่ได้
รับบาดเจ็บบริเวณชายทะเล
วิธีการศึกษา ท�ำการศึกษาแบบไปข้างหน้า เก็บข้อมูลตั้งแต่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2560 ถึง วันที่ 31 พฤษภาคม
พ.ศ. 2561 ระยะเวลา 14 เดือน โดยเก็บข้อมูลทั่วไป ข้อมูลเกี่ยวกับบาดแผล ข้อมูลการรักษา ยาปฏิชีวนะ
ที่ได้รับเก็บชิ้นเนื้อในบาดแผลส่งเพาะเชื้อแบคทีเรียทั้งแบบต้องการออกซิเจน และแบบไม่ต้องการออกซิเจน
รายงานอุบัติการณ์ของเชื้อแบคทีเรียที่พบ วิเคราะห์ตัวแปรที่สัมพันธ์กับการปนเปื้อนเชื้อแบคทีเรียในบาดแผล
ที่ได้รับบาดเจ็บบริเวณชายทะเล
ผลการศึกษา เก็บข้อมูลผู้ป่วย 100 คน เพศชาย 81 คน เพศหญิง 19 คน อายุเฉลี่ย 28.3 ปี (10-70 ปี) ระดับ
การศึกษามีความสัมพันธ์กับการปนเปื้อนเชื้อแบคทีเรียอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ p = 0.017 การศึกษาระดับ
มัธยมศึกษามีโอกาสตรวจพบเชื้อแบคทีเรียมากขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับระดับการศึกษาอื่น odds ratio = 3.67
(95% CI 1.47-9.16), p = 0.005 สาเหตุการเกิดบาดแผลมีความสัมพันธ์กับการปนเปื้อนเชื้อแบคทีเรียอย่าง
มีนัยส�ำคัญทางสถิติ p = 0.023 บาดแผลเกิดจากการกระทบกระแทกกับบุคคลอื่นพบว่า มีโอกาสตรวจพบ
การปนเปื้อนเชื้อแบคทีเรียมากขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับสาเหตุอื่น odds ratio = 4.5 (95% CI 1.46-14.36),
p = 0.009 ระยะเวลาเกิดบาดแผลมีความสัมพันธ์กับการปนเปื้อนเชื้อแบคทีเรียอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ
p = 0.037 เวลาที่น้อยกว่า 30 นาที มีโอกาสตรวจพบเชื้อแบคทีเรียมากขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มระยะ
เวลาตั้งแต่ 30 นาทีขึ้นไป odds ratio = 2.9 (95% CI 1.11-7.71), p = 0.029 อุบัติการณ์การปนเปื้อนเชื้อ
แบคทีเรียในบาดแผลที่ได้รับบาดเจ็บบริเวณชายทะเลเท่ากับร้อยละ 30 พบ Staphylococcus epidermidis
ร้อยละ 63.3 viridans group streptococci (VGS) ร้อยละ 20 Staphylococcus aureus ร้อยละ 10 และ
Proteus vulgaris ร้อยละ 6.7 ในการศึกษานี้ไม่พบผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนจากการรักษาบาดแผล
สรุป การศึกษาระดับมัธยมศึกษา บาดแผลที่เกิดจากการกระทบกระแทกกับบุคคลอื่น และระยะเวลาเกิด
บาดแผลน้อยกว่า 30 นาที มีโอกาสมากขึ้นในการตรวจพบการปนเปื้อนเชื้อแบคทีเรียในบาดแผลที่ได้รับบาดเจ็บ

Article Details

บท
นิพนธ์ต้นฉบับ

References

1. World Health Organization: Prevention and
management of wound infection: guidance
from WHO’s Department of Violence
and Injury Prevention and Disability
and the Department of Essential Health
Technologies; 2008.
2. Healy B, Freedman A. Infections. BMJ.
2006; 332: 838–41.
3. Quinn JV, Polevoi SK, Kohn MA. Traumatic
lacerations: what are the risks for infection
and has the ‘golden period’ of laceration
care disappeared?. Emerg Med J. 2014;
31: 96-100.
4. Cardona A.F., Wilson S.E. Skin and softtissue infections: A critical review and the
role of telavancin in their treatment. Clin.
Infect. Dis. 2015; 61: S69–78.
5. Bowler P. The anaerobic and aerobic
microbiology of wounds: a review. Wounds.
1998; 10: 170-8.
6. Bowler P, Duerden B, Armstrong D. Wound
microbiology and associated approaches
to wound management. Clin Microbiol
Rev. 2001; 14: 244-69.
7. Petersen K, Waterman P. Prophylaxis and
treatment of infections associated with
penetrating traumatic injury. Expert Rev
Anti Infect Ther. 2011; 9: 81-96.
8. Sirijatuphat R, Siritongtaworn P, Sripojtham
V, Boonyasiri A, Thamlikitkul V. Bacterial
contamination of fresh traumatic wounds
at Trauma Center, Siriraj Hospital, Bangkok,
Thailand. J Med Assoc Thai. 2014; 97 Suppl
3: S20-5.
9. Sirijatuphat R, Choochan T, Siritongtaworn
P, Sripojtham V, Thamlikitkul V.J Med Assoc
Thai. Implementation of antibiotic use
guidelines for fresh traumatic wound at
Siriraj Hospital. 2015; 98: 245-52.
10. Diaz JH, Lopez FA. Skin, soft tissue and
systemic bacterial infections following
aquatic injuries and exposures. Am J Med
Sci. 2015; 349: 269-75.
11. Blake PA, Merson MH, Weaver RE, Hollis
DG, Heublein PC. Disease caused by a
marine Vibrio. Clinical characteristics and
epidemiology. N Engl J Med. 1979; 300: 1-5.
12. Seal DV. Necrotizing fasciitis. Curr Opin
Infect Dis. 2001; 14: 127–32.
13. Heinzelmann M, Scott M, Lam T. Factors
predisposing to bacterial invasion and
infection. Am J Surg 2002; 183: 179-90.
14. Oliver JD. Wound infection caused by
Vibrio vulnificus and other marine bacteria.
Epidemiol Infect. 2005; 133: 383-91.
15. Neill MA, Carpenter CJ. Other pathogenic
vibrios. In: Mandell GL, Bennett JE, Dolin R,
editors. Mandell, Douglas and Bennett’s:
principles and practice of infectious
diseases. 6th edition. Philadelphia, PA:
Elsevier Churchill Livingstone; 2005. p.
2544–8.
16. Deng K, Wu X, Fuentes C, Su YC, WeltiChanes J, Paredes-Sabja D, et al. Analysis
of Vibrio vulnificus Infection Risk When
Consuming Depurated Raw Oysters. J Food
Prot. 2015; 78: 1113-8.
17. Heng SP, Letchumanan V, Deng CY, Ab
Mutalib NS, Khan TM, Chuah LH, et al.
Vibrio vulnificus: An Environmental and
Clinical Burden. Front Microbiol. 2017; 8:
997.
18. Yun NR, Kim DM. Vibrio vulnificus infection:
a persistent threat to public health. Korean
J Intern Med. 2018; 33: 1070-8.
19. Cogen AL, Nizet V, Gallo RL. Skin microbiota:
a source of disease or defence? Br J
Dermatol. 2008; 158: 442-55.
20. Otto M. Staphylococcus epidermidis--the
‘accidental’ pathogen. Nat Rev Microbiol.
2009; 7: 555-67.
21. Grice EA, Segre JA. The skin microbiome.
Nat Rev Microbiol. 2011; 9: 244-53.
22. Otto M. Molecular basis of Staphylococcus
e p i d e r m i d i s i n f e c t i o n s . S e m i n
Immunopathol. 2012; 34: 201-14.
15. Neill MA, Carpenter CJ. Other pathogenic
vibrios. In: Mandell GL, Bennett JE, Dolin R,
editors. Mandell, Douglas and Bennett’s:
principles and practice of infectious
diseases. 6th edition. Philadelphia, PA:
Elsevier Churchill Livingstone; 2005. p.
2544–8.
16. Deng K, Wu X, Fuentes C, Su YC, WeltiChanes J, Paredes-Sabja D, et al. Analysis
of Vibrio vulnificus Infection Risk When
Consuming Depurated Raw Oysters. J Food
Prot. 2015; 78: 1113-8.
17. Heng SP, Letchumanan V, Deng CY, Ab
Mutalib NS, Khan TM, Chuah LH, et al.
Vibrio vulnificus: An Environmental and
Clinical Burden. Front Microbiol. 2017; 8:
997.
18. Yun NR, Kim DM. Vibrio vulnificus infection:
a persistent threat to public health. Korean
J Intern Med. 2018; 33: 1070-8.
19. Cogen AL, Nizet V, Gallo RL. Skin microbiota:
a source of disease or defence? Br J
Dermatol. 2008; 158: 442-55.
20. Otto M. Staphylococcus epidermidis--the
‘accidental’ pathogen. Nat Rev Microbiol.
2009; 7: 555-67.
21. Grice EA, Segre JA. The skin microbiome.
Nat Rev Microbiol. 2011; 9: 244-53.
22. Otto M. Molecular basis of Staphylococcus
e p i d e r m i d i s i n f e c t i o n s . S e m i n
Immunopathol. 2012; 34: 201-14.
15. Neill MA, Carpenter CJ. Other pathogenic
vibrios. In: Mandell GL, Bennett JE, Dolin R,
editors. Mandell, Douglas and Bennett’s:
principles and practice of infectious
diseases. 6th edition. Philadelphia, PA:
Elsevier Churchill Livingstone; 2005. p.
2544–8.
16. Deng K, Wu X, Fuentes C, Su YC, WeltiChanes J, Paredes-Sabja D, et al. Analysis
of Vibrio vulnificus Infection Risk When
Consuming Depurated Raw Oysters. J Food
Prot. 2015; 78: 1113-8.
17. Heng SP, Letchumanan V, Deng CY, Ab
Mutalib NS, Khan TM, Chuah LH, et al.
Vibrio vulnificus: An Environmental and
Clinical Burden. Front Microbiol. 2017; 8:
997.
18. Yun NR, Kim DM. Vibrio vulnificus infection:
a persistent threat to public health. Korean
J Intern Med. 2018; 33: 1070-8.
19. Cogen AL, Nizet V, Gallo RL. Skin microbiota:
a source of disease or defence? Br J
Dermatol. 2008; 158: 442-55.
20. Otto M. Staphylococcus epidermidis--the
‘accidental’ pathogen. Nat Rev Microbiol.
2009; 7: 555-67.
21. Grice EA, Segre JA. The skin microbiome.
Nat Rev Microbiol. 2011; 9: 244-53.
22. Otto M. Molecular basis of Staphylococcus
e p i d e r m i d i s i n f e c t i o n s . S e m i n
Immunopathol. 2012; 34: 201-14.
15. Neill MA, Carpenter CJ. Other pathogenic
vibrios. In: Mandell GL, Bennett JE, Dolin R,
editors. Mandell, Douglas and Bennett’s:
principles and practice of infectious
diseases. 6th edition. Philadelphia, PA:
Elsevier Churchill Livingstone; 2005. p.
2544–8.
16. Deng K, Wu X, Fuentes C, Su YC, WeltiChanes J, Paredes-Sabja D, et al. Analysis
of Vibrio vulnificus Infection Risk When
Consuming Depurated Raw Oysters. J Food
Prot. 2015; 78: 1113-8.
17. Heng SP, Letchumanan V, Deng CY, Ab
Mutalib NS, Khan TM, Chuah LH, et al.
Vibrio vulnificus: An Environmental and
Clinical Burden. Front Microbiol. 2017; 8:
997.
18. Yun NR, Kim DM. Vibrio vulnificus infection:
a persistent threat to public health. Korean
J Intern Med. 2018; 33: 1070-8.
19. Cogen AL, Nizet V, Gallo RL. Skin microbiota:
a source of disease or defence? Br J
Dermatol. 2008; 158: 442-55.
20. Otto M. Staphylococcus epidermidis--the
‘accidental’ pathogen. Nat Rev Microbiol.
2009; 7: 555-67.
21. Grice EA, Segre JA. The skin microbiome.
Nat Rev Microbiol. 2011; 9: 244-53.
22. Otto M. Molecular basis of Staphylococcus
e p i d e r m i d i s i n f e c t i o n s . S e m i n
Immunopathol. 2012; 34: 201-14.