ปัจจัยความสำเร็จและความท้าทายใน การพัฒนากิจกรรมการเรียนร่วมสหสาขา วิชาชีพ ของศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศรและ เครือข่าย
คำสำคัญ:
ปัจจัยความสำเร็จ, ความท้าทาย, กิจกรรมการเรียนร่วมสหสาขาวิชาชีพบทคัดย่อ
บริบท ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร เริ่มนำกิจกรรมการเรียนร่วมสห
สาขาวิชาชีพ (Interprofessional Education: IPE) มาใช้ตั้งแต่ พ.ศ.2560 โดยร่วมมือกับเครือข่ายสถาบันการ
ศึกษาต่างๆ
วัตถุประสงค์ ค้นหาปัจจัยความสำเร็จ และความท้าทายในการดำเนินงานในการพัฒนากิจกรรมการเรียนร่วม
สหสาขาวิชาชีพ (IPE) ตามแนวคิดการประเมินความพร้อมของหน่วยงาน (Readiness) เป้าหมายและ
ความต้องการการสนับสนุนเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย แผนการดำเนินงานในปีต่อไป และความรู้สึกของอาจารย์ที่
ได้เข้าร่วมกิจกรรม IPE ของศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิกโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศรและเครือข่าย
สถาบันการศึกษา และวางแผนพัฒนารูปแบบและการสนับสนุนการดำเนินงาน IPE ต่อไป
วิธีการศึกษา จัดประชุมผู้มีส่วนเกี่ยวข้องโดยใช้กระบวนการสนทนากลุ่ม เพื่อรวบรวมประเด็นต่างๆ ตาม
วัตถุประสงค์
ผลการศึกษา ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิกโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศรและเครือข่ายได้ร่วมมือและ
ประสานงานการจัดกิจกรรม IPE อย่างเป็นรูปธรรม โดยมีปัจจัยความสำเร็จคือมีนโยบายสนับสนุนการดำเนิน
งานที่ชัดเจน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีแรงจูงใจที่ดีสำหรับประเด็นการพัฒนาเพื่อความพร้อมของการจัดกิจกรรม IPE
ด้านที่มากที่สุดคือ ความสามารถทั่วไป (general capacity) รองลงมาคือ ความสามารถเฉพาะ (innovationspecific capacity) การจัดกิจกรรมIPE ควรดำเนินการ โดยเครือข่ายที่เข้มแข็งเพื่อให้เกิดบรรยากาศการเรียน
และฝึกปฏิบัติงานของนิสิตและนักศึกษาที่เป็นระบบในรูปแบบทีมสหสาขาวิชาชีพและสามารถผลักดันเข้าสู่
กระบวนการInterprofessional practice (IPP) ในระบบการดูแลสุขภาพผู้ป่วยต่อไป
สรุป ปัจจัยความสำเร็จและความท้าทายในการดำเนินงานIPEของศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิกโรงพยาบาล
เจ้าพระยาอภัยภูเบศรและเครือข่าย คือ แรงจูงใจที่ดี ดำเนินการโดยเครือข่ายที่เข้มแข็ง และผลักดันให้เกิด
กระบวนการ Interprofessional practice (IPP)สถาบันที่ต้องการจัดการเรียนการสอนแบบ IPE สามารถใช้
ตัวอย่างการดำเนินงานจากรายงานวิจัยนี้ไปปรับใช้ได้
References
Jordan K.,Leslie H. H., Roder-Dewan S.,
et al. High-quality health systems in the
sustainable development goals era: time
for a revolution. The Lancet Global health.
2018; 6: e1196-e252.
2. Gilbert J. H., Yan J., Hoffman S. J. A
WHO report: framework for action
on interprofessional education and
collaborative practice. Journal of allied
health. 2010; 39 Suppl 1 :196-7.
3. Buring S. M., Bhushan A., Broeseker A.,
Conway S., Duncan-Hewitt W., Hansen
L., et al. Interprofessional education:
definitions, student competencies, and
guidelines for implementation. American
journal of pharmaceutical education. 2009;
73 :59.
4. Busari J. O., Moll F. M, Duits A.
J.Understanding the impact of
interprofessional collaboration on the
quality of care: a case report from a
small-scale resource limited health care
environment. J Multidiscip Healthc. 2017;
10: 227-34.
5. WHO. Framework for action on
Interprofessional Education & Collaborative
Practice. Geneva, Switzerland: World
Health Organization 2010.
6. ชนัตถา พลอยเลื่อมแสง, ศิรินาถ ตงศิริ, ธน
พงศ์ ภูผาลี, วิราวรรณ์ คำหวาน, อุมาภรณ์ บุพ
ไชย, สุนทรี ถูกจิตต, และคณะ. การจัดการ
เรียนการสอนร่วมสหวิชาชีพเพื่อการดูแลผู้ป่วย
สูงอายุที่บ้าน: ความร่วมมือระหว่าง 6 คณะ
แพทยศาสตร์ เภสัชศาสตร์ พยาบาลศาสตร์
สัตวแพทยศาสตร์ วิทยาการสารสนเทศ และ
สถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและ นฤมิตศิลป์
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. กรุงเทพฯ: สถาบัน
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
2562.
7. Zechariah S., Ansa B.E., Johnson S. W.,
Gates A. M., Leo G.D. Interprofessional
Education and Collaboration in Healthcare:
An Exploratory Study of the Perspectives
of Medical Students in the United States.
Healthcare (Basel). 2019; 7: 117.
8. Lestari E., Stalmeijer R.E., Widyandana D.,
Scherpbier A. Understanding attitude of
health care professional teachers toward
interprofessional health care collaboration
and education in a Southeast Asian
country. J Multidiscip Healthc. 2018; 11:
557-71.
9. Sunguya B. F., Hinthong W., Jimba
M.,Yasuoka J. Interprofessional education
for whom? --challenges and lessons
learned from its implementation in
developed countries and their application
to developing countries: a systematic
review. PloS one. 2014; 9: e96724.
10. Bridges .D.R., Davidson R. A., Odegard P.S. ,
Maki I.V., Tomkowiak J. Interprofessional
collaboration: three best practice models
of interprofessional education. Med Educ
Online. 2011; 16: 10.3402/meo.v16i0.6035.
11. Flaspohler P., Duffy J., Wandersman
A., Stillman L.,Maras M. A. Unpacking
prevention capacity: an intersection
of research-to-practice models and
community-centered models. American
journal of community psychology. 2008;
41: 182-96.
12. Scaccia J.P., Cook B. S.,Lamont A.,
Wandersman A., Castellow J., JKatz J., et
al. A practical implementation science
heuristic for organizational readiness: R
= MC2
. J Community Psychol. 2015; 43:
484-501.
13. ปรัชญา พุมอุทัยวิรัตน์. การจัดการศึกษาแบบ
สหสาขาวิชาชีพ. The Journal of Chulabhorn
Royal Academy. 2020; 2: 12-28.
14. สุณี เศรษฐเสถียร. รูปแบบการเรียนแบบ
สหวิชาชีพ ณ กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู โรงพยาบาล
อุดรธานี. เวชศาสตร์ฟื้นฟูสาร. 2558 ;25 : 65-70