การดูแลรักษาภาวะวิกฤตระบบการหายใจ ในโรคโควิด-19

Main Article Content

ภูรีพัทธ์ อรรถเวชกุล

บทคัดย่อ

ในบรรดาผู้ป่วยโรคโควิด-19 ทั้งหมดนั้น ประมาณร้อยละ 5 มีความรุนแรงในระดับผู้ป่วยวิกฤต ซึ่งปัญหาทางระบบ
การหายใจพบได้บ่อยที่สุด เบื้องต้นผู้ป่วยควรได้รับออกซิเจนเพื่อให้มีระดับ oxygen saturation 90-96% การใช้
อุปกรณ์ high flow nasal cannula และ non invasive ventilation ยังไม่มีหลักฐานว่าได้ประโยชน์ชัดเจน ใน
ผู้ป่วยอาการหนักให้พิจารณาใส่ท่อช่วยหายใจแต่เนิ่นๆ การทำหัตถการที่เป็น aerosol generating procedure
ให้ทำเท่าที่จำเป็น เนื่องจากมีความเสี่ยงในการแพร่กระจายเชื้อ หากต้องทำให้ทำในสถานที่ที่เหมาะสม รวมถึง
บุคลากรที่ร่วมทำหัตถการต้องป้องกันตนเองอย่างเคร่งครัด ในผู้ป่วยที่ต้องใส่เครื่องช่วยหายใจ ให้การรักษาตาม
มาตรฐานแบบผู้ป่วย acute respiratory distress syndrome แต่อาจจะต้องเพิ่มความระมัดระวัง เพื่อป้องกัน
การรแพร่กระจายเชื้ออย่างเข้มงวด

Article Details

บท
บทความพิเศษ

References

1. Huang C, Wang Y, Li X, Ren L, Zhao J, Hu Y,
et al. Clinical features of patients infected
with 2019 novel coronavirus in Wuhan,
China. Lancet. 2020; 395(10223): 497-506.
2. Wang D, Hu B, Hu C, Zhu F, Liu X, Zhang
J, et al. Clinical characteristics of 138
hospitalized patients with 2019 novel
coronavirus-infected pneumonia in Wuhan,
China. JAMA. 2020; 323(11): 1061–9.
3. Gomersall CD, Joynt GM, Lam P, Li T, Yap
F, Lam D, et al. Short-term outcome of
critically ill patients with severe acute
respiratory syndrome. Intensive Care Med.
2004; 30(3): 381-7. Epub 2004 Jan 23.
4. Gattinoni L, Chiumello D, Caironi P, et al.
COVID-19 pneumonia: different respiratory
treatments for different phenotypes?.
Intensive Care Med. 2020; 46(6): 1099-102.
5. Chun Pan , Lu Chen , Cong Lu , Wei
Zhang , Jia-An Xia , Michael C et alLung
Recruitability in SARS-CoV-2 Associated
Acute Respiratory Distress Syndrome: A
Single-center, Observational Study Pan
C et al Am J Respir Crit Care Med. 2020;
201(10): 1294-7.