ลักษณะงานและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ ความเครียดจากการทำงานของครูในโรงเรียน มัธยมศึกษา จังหวัดชลบุรี

ผู้แต่ง

  • ทนงศักดิ์ ยิ่งรัตนสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี ประเทศไทย
  • กาญจนา พิบูลย์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี ประเทศไทย
  • ธนิดา จุลวนิชย์พงษ์ คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี ประเทศไทย
  • พวงทอง อินใจ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี ประเทศไทย

คำสำคัญ:

ลักษณะงาน, ความเครียดจากการทำงาน, ครู, แบบสอบถามองค์ประกอบของงาน

บทคัดย่อ

บริบท ครูเป็นอาชีพที่พบว่า มีความเครียดจากการทำงานสูง เนื่องจากความรับผิดชอบที่เพิ่มมากขึ้นและภาระงาน
ที่ต้องทำให้เสร็จภายในเวลาที่กำหนด ที่ผ่านมาพบว่า มีงานวิจัยจำนวนไม่มากนักที่ศึกษาเกี่ยวกับความเครียด
จากการทำงานของครูในประเทศไทย
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาองค์ประกอบของงาน ความเครียดจากการทำงาน และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ
ความเครียดจากการทำงานของครูในโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดชลบุรี โดยใช้แนวคิดของ Karasek
วิธีการศึกษา เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติถดถอยพหุคูณแบบ
โลจิสติก
ผลการศึกษา พบว่า ครูส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 72.0) อายุเฉลี่ย 39 ปี ประกอบอาชีพครูมาแล้ว โดย
เฉลี่ย 13.43 ปี สอนในโรงเรียนที่อยู่ปัจจุบันมาแล้วโดยเฉลี่ย 7.88 ปี ส่วนใหญ่อยู่ในตำแหน่งครูชำนาญการ
(ร้อยละ 30.0) จากคะแนนประเมินองค์ประกอบของงาน (คะแนนเต็ม 4) องค์ประกอบด้านอิสรภาพในเชิงทักษะ
มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.46 การควบคุมหรืออำนาจในการตัดสินใจ 3.06 ข้อเรียกร้องจากงาน 2.68 และการสนับสนุน
ทางสังคม 3.20 โดยส่วนมากมีความเครียดจากการทำงานตำ ร้อยละ 32.7 ทำงานในเชิงรับ ร้อยละ 30.3 ทำงาน
ในเชิงรุกร้อยละ 20.7 และมีความเครียดจากการทำงานสูง ร้อยละ 16.3 ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง
ปัจจัยส่วนบุคคลและความเครียดจากการทำงานพบว่า ครูเพศหญิงมีความเสี่ยงที่จะมีความเครียดจากการทำงาน
มากกว่าครูเพศชาย 2.65 เท่า (adjusted odds ratio [ORadj] 2.65, 95% CI 1.29 to 5.46) และครูที่มีตำแหน่ง
ชำนาญการขึ้นไป มีความเสี่ยงที่จะมีความเครียดจากการทำงานมากกว่าครูที่มีตำแหน่งครูผู้ช่วยและครูระดับ
ปฏิบัติการ 2.63 เท่า (ORadj 2.63, 95% CI 1.30 to 5.33) ทั้งนี้เมื่อควบคุมตัวแปรด้านระดับการศึกษา ระยะ
เวลาที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนปัจจุบัน โรคประจำตัว และการสูบบุหรี่
สรุป ถึงแม้สัดส่วนของครูที่มีความเครียดจากการทำงานสูงมีเพียงร้อยละ 16.3 แต่ก็เป็นปัญหาที่ไม่ควรมองข้าม
ผู้วิจัยขอเสนอแนะว่าควรมีการเฝ้าระวังปัญหาความเครียดจากการทำงาน ในครูเพศหญิงที่มีตำแหน่งชำนาญ
การขึ้นไป โดยปรับองค์ประกอบของงานด้านการควบคุม โดยเฉพาะในเรื่องการเพิ่มอิสระในการตัดสินใจว่า
จะทำงานอย่างไร และจัดโปรแกรมการจัดการความเครียดที่เหมาะสมเฉพาะบุคคลเพื่อให้ครูสามารถนำไปปรับ
ใช้ในชีวิตประจำวันได

References

1. Hepburn A, Brown S. Teacher stress and
management of accountability. Human
Relations. 2001; 54: 691–715.
2. Han K, Trinkoff AM, Storr CL, Geiger-Brown
et al. Comparison of job stress and obesity
in nurses with favorable and unfavorable
work schedules. Journal of Occupational
and Environmental Medicine. 2012; 54:
928–32.
3. Peltzer K, Shisana O, Zuma K, Wyk VB,
Zungu-Dirwayi N. Job stress, job satisfaction
and stress-related illnesses among South
African educators. Stress and Health 2008.
4. Kristensen TS. Job stress and cardiovascular
disease: a theoretic critical review. J Occup
Health Psychol. 1996; 1: 246-60.
5. Krantz G, Lundberg U. Workload, work
stress, and sickness absence in Swedish
male and female white-collar employees.
Scandinavian Journal of Public Health.
2006; 34: 238-46.
6. Chan KB, Lai G, Ko YC, Boey KW. Work
stress among six professional groups: the
Singapore experience. Social Science &
Medicine. 2000; 50: 1415–32.
7. Hassard J, Teoh KRH, Visockaite G, Dewe
P, Cox T. The cost of work-related stress
to society: A systematic review. J Occup
Health Psychol. 2018; 23: 1-17.
8. Agai-Demjaha T, Bislimovska JK, Mijakoski
D. Level of work related stress among
teachers in elementary schools. Open
Access Maced J Med Sci. 2015; 3: 484–8.
9. Boontham T. Job stress of secondary
school teachers in Nahkhonpathom
Education Service Area 1. [ M.A. Thesis in
Community Psychology]. Nahkhonpathom:
Graduate School, Silpakorn University,
2004.
10. Kaewkiew P. A study of stress levels and
work efficiency of teachers in special
education in Bangkok Metropolitan Area.
SDU Res. J. 2014; 10: 59-76.
11. Makhawanit U. Stress of government
teachers under Chon Buri Primary Education
Service Area Office 2, Phanatnikhom
Group. [ M.P.A. Thesis in Public and Private
Administrations]. Chon Buri: School of
Public Administration, Burapha University,
2013.
12. Quick JC, Quick JD, Nelson DL, & Hurrell
JJ. Preventive stress management in
organizations. American Psychological
Association, Washington DC, USA. 1997.
13. Karasek RA. Job demands, job decision
latitude, and mental strain: implications
for job redesign. Adm Sci Q. 1979; 24:
285–308.
14. Santos KOB, Araújo TM, Carvalho FM,
Karasek R. The job content questionnaire
in various occupational contexts:
applying a latent class model. BMJ
Open. 2017; 7: e013596. doi:10.1136/
bmjopen-2016-013596.
15. Lemeshow S, Hosmer DW, Klar J. Adequacy
of sample size in health studies. John
Wiley & Sons, West Sussex, England. 1992.
16. T h e r d t h o o n p h u p h u c h S h . W ,
Lueboonthavatchai P. Work stress and
burnout among licensed lawyers at Thai
Lawyers Council under Royal Patronage.
Chula Med J. 2017; 61: 663-76.
17.Phakthongsuk P, Apakupakul N.
Psychometric properties of the Thai
version of the 22-item and 45-item Karasek
job content questionnaire. Int J Occup
Med Environ Health. 2008; 21: 331-44. doi:
10.2478/v10001-008-0036-6.
18. Phakthongsuk P. Construct validity of
the Thai version of the job content
questionnaire in a large population of
heterogeneous occupations. J Med Assoc
Thai. 2009; 92: 564-72.
19. Kawakami N, Akachi K, Shimizu H, Haratani
T, Kobayashi F, Ishizaki M. et al. Job strain,
social support in the workplace, and
haemoglobin A1c in Japanese men. Occup
Environ Med. 2000; 57: 805-9.
20. De Bacquer D, Pelfrene E, Clays E, Mak R,
Moreau M, de Smet P. et al. Perceived job
stress and incidence of coronary events:
3-year follow-up of the Belgian Job Stress
Project cohort. Am J Epidemiol. 2005; 161:
434-41.
21. Elovainio M, Ferrie JE, Singh-Manoux A,
Gimeno D, De Vogli R, Shipley MJ. et al.
Cumulative exposure to high-strain and
active jobs as predictors of cognitive
function: the Whitehall II study. Occup
Environ Med. 2009; 66: 32-7. doi: 10.1136/
oem.2008.039305.
22. Lopes CS, Araya R, Werneck GL, Chor
D, Faerstein E. Job strain and other
work conditions: relationships with
psychological distress among civil servants
in Rio de Janeiro, Brazil. Soc Psychiatry
Psychiatr Epidemiol. 2010; 45: 345-54. doi:
10.1007/s00127-009-0066-9.
23. ระบบสารสนเทศเพื่อบริหารการศึกษา. ตาราง
จ�ำนวนข้าราชครูในสถานศึกษาจ�ำแนกตาม
วิทยฐานะวุฒิการศึกษา และเพศ สพม.เขต 18
(ชลบุรี-ระยอง). [อินเตอร์เนต]. [เข้าถึงเมื่อ 5
ธ.ค. 2561]. เข้าถึงได้จาก https://data.boppobec.info/emis/person-all-sum_v_edu-list.
php?Area_CODE=101718
24. นนทรี สัจจาธรรม และ ณฐินี พงศ์ไพฑูรย์สิน.
ปัจจัยทีมีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการดูแล
สุขภาพและการใช้บริการสาธารณสุข ของครู
มัธยมศึกษา จังหวัดนนทบุรี. การประชุมวิชาการ
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
25. Slopen N, Kontos EZ, Ryff CD, Ayanian
JZ, Albert MA, Williams DR. Psychosocial
stress and cigarette smoking persistence,
cessation, and relapse over 9-10 years: a
prospective study of middle-aged adults in
the United States. Cancer Causes Control.
2013; 24: 1849–63.
26. Sillaber I, Henniger MS. Stress and alcohol
drinking. Ann Med. 2004; 36: 596-605.
27. Wang Y, Ramos A, Wu H, Liu L, Yang X,
Wang J, Wang L. Relationship between
occupational stress and burnout among
Chinese teachers: a cross-sectional survey
in Liaoning, China. Int Arch Occup Environ
Health. 2015; 88: 589-97.
28. ส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. พระราช
บัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา พ.ศ. 2557.
29. Minghui L, Lei H, Xiaomeng C, Potměšilc
M. Teacher efficacy, work engagement,
and social support among Chinese special
education school teachers. Front Psychol.
2018; 9: 648. Published 2018 May 7.
30. McIntyre SE, McIntyre TM, & Francis DJ.
Implications of an occupational health
perspective for educator stress research,
practice, and policy. In T. M. McIntyre, S.
E. McIntyre, & D. J. Francis (Eds.), Aligning
perspectives on health, safety and wellbeing. Educator stress: An occupational
health perspective. Switzerland: Springer
International Publishing; 2017. p. 485-505.
31. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี.
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาความเป็น
ครูและคุณธรรมจริยธรรม. [อินเตอร์เน็ต].
2562. [เข้าถึงเมื่อ 5 ธ.ค. 2561]. เข้าถึงได้จาก
http://graduate.sru.ac.th/wp-content/
uploads/2019/06/EDU0101_Teacher-andmoral-ethics.pdf.
32. กฤษมันต์ วัฒนาณรงค์. เมื่ออาชีพ “ข้าราชการ
ครู” ถูกเลือกเป็นอันดับ 1. ไทยรัฐ ออนไลน์.
[อินเตอร์เน็ต]. 2554. [เข้าถึงเมื่อ 5 ธ.ค. 2561].
เข้าถึงได้จาก https://www.thairath.co.th/
content/162903.
33. Villegas-Reimers E. Teacher Professional
Development: An International Review of
the Literature. Paris: UNESCO International
Institute for Educational Planning; 2003.
34. อรรณพ จีนะวัฒน์. การพัฒนาตนของผู้ประกอบ
วิชาชีพครู. Veridian E-Journal, Silpakorn
University. ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์
สังคมศาสตร์ และศิลปะ. 2559; 9; 1379-95.
35. Phillips S, Sen D, McNamee R. Prevalence
and causes of self-reported work-related
stress in head teachers. Occupational
Medicine. 2007; 57: 367–76.
36. Ahmady S, Changiz T, Masiello I. et al.
Organizational role stress among medical
school faculty members in Iran: dealing
with role conflict. BMC Med Educ. 2007; 7.
37. Montgomery C, Rupp AA. A meta-analysis
for exploring the diverse causes and
effects of stress in teachers. Canadian
Journal of Education. 2005; 28: 458-86.
38. ทรงวุฒิ อยู่เอี่ยม, พัชราภรณ์ ศรีสวัสดิ์, อัญชลี
สุขในสิทธ์, เพ็ญนภา กุลนภาดล. การพัฒนา
โปรแกรมการจัดการความเครียดด้วยการให้
คำปรึกษากลุ่มแบบบูรณาการ ร่วมกับศาสตร์
แพทย์ทางเลือก. วารสารพยาบาลตำรวจ. 2560;
9: 140-53.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-27