ความคิดเห็นของนิสิตแพทย์ต่อรูปแบบการฝึกซักประวัติผู้ป่วยจำลองในโครงการปฐมนิเทศ นิสิตแพทย์ ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
คำสำคัญ:
นิสิตแพทยื, การซักประวัติ, ผู้ป่วยจำลองบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทนนำ ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเปลี่ยนแปลงรูปแบบกิจกรรม
การฝึกซักประวัติในผู้ป่วยจำลองในโครงการปฐมนิเทศนิสิตแพทย์เพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่นิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 4
ก่อนการปฏิบัติงานจริงในชั้นคลินิก
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนิสิตแพทย์ต่อรูปแบบการฝึกซักประวัติผู้ป่วยจำลองในโครงการ
ปฐมนิเทศนิสิตแพทย์ ปีการศึกษา 2560
วิธีการศึกษา เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มเป้าหมายคือนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 4และ 5 ปีการศึกษา 2560 ที่เข้าร่วม
กิจกรรมการฝึกซักประวัติผู้ป่วยจำลอง เก็บข้อมูลจากเรียงความของนิสิตแพทย์และการสัมภาษณ์เชิงลึกภายหลัง
จากการฝึกปฏิบัติจริงบนหอผู้ป่วย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธี SCAT
ผลการศึกษา ความคิดเห็นของนิสิตแพทย์ต่อรูปแบบการฝึกซักประวัติผู้ป่วยจำลองในโครงการปฐมนิเทศนิสิต
แพทย์ คือ การเรียนรู้และทบทวนทักษะการซักประวัติเบื้องต้น เกิดความคิดที่เป็นระบบ มีแนวทางการวางตัวที่
เหมาะสม เพิ่มความมั่นใจ เข้าใจจิตใจผู้ป่วย เห็นโอกาสในการพัฒนาตนเอง การมีรุ่นพี่เข้าร่วมกิจกรรมก่อให้เกิด
สัมพันธภาพระหว่างรุ่นพี่รุ่นน้อง ซึ่งหลังผ่านการปฏิบัติงานจริง นิสิตแพทย์ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่ากิจกรรมนี้
เป็นสิ่งจำเป็น เนื่องจากมีประโยชน์ต่อการเรียนและปฏิบัติงานจริงของนิสิตแพทย์ชั้นคลินิก
สรุป รูปแบบการฝึกซักประวัติผู้ป่วยจำลองนี้ ช่วยเสริมสร้างความมั่นใจต่อทักษะที่จำเป็นต่อการเรียนและการ
ปฏิบัติงานในชั้นคลินิกให้แก่นิสิตแพทย์
References
และตรวจร่างกาย.พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ:
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2551.
2. ชิษณุ พันธ์เจริญ และจรุงจิตร์ งามไพบูลย์.
บรรณาธิการ. คู่มือทักษะการสื่อสารส?ำหรับ
แพทย์ประจ?ำบ้านและนักเรียนแพทย์.กรุงเทพฯ:
ธนาเพรส; 2552.
3. คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. หลักสูตร
แพทยศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2555. พิษณุโลก: คณะ
แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร; 2556.
4. Tsukamoto T, Ohira Y, Noda K, Takada Tc, a
Ikusaka M. The contribution of the medical
history for the diagnosis of simulated cases
by medical students. Int J Med Educ. 2012;
3: 78-82.
5. Keifenheim KE, Teufel M, Ip J, Speiser
N, Leehr EJ, Zipfel S, Herrmann-Werner
A. Teaching history taking to medical
students: a systematic review. BMC Med
Educ. 2015; 15: 159.
6. โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช.
โครงการปฐมนิเทศนิสิตแพทย์ ศูนย์แพทย
ศาสตรศึกษาชั้นคลินิก ปีการศึกษา 2560. ตาก:
โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช; 2560.
7. Otani T. “SCAT” A qualitative data
analysis method by four-step coding: Easy
startable and small scale data-applicable
process of theorization. Bulletin of the
Graduate School of Education and Human
Development. Nagoya University.2007; 54:
27-44.
8. คัทรียา รัตนวิมล, วารีรัตน์ แก้วอุไร, พูลสุข
หิงคานนท์. การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน
โดยผู้ป่วยจ?ำลองร่วมกับวงสนทนาแห่งความไว้ใจ
เพื่อส่งเสริมความสุขในการเรียนส?ำหรับนิสิต
พยาบาล. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ.
2558; 9: 179-92.
9. ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์, นฤมล สินสุพรรณ, อมรรัตน์
รัตนสิริ, วัฒนะ ดิฐสถาพรเจริญ, ปิยธิดา คูหิรัญ
ญรัตน์และ เสาวนันท์ บ?ำเรอราช. ทักษะการ
สื่อสารส?ำหรับการให้ค?ำปรึกษาทางการแพทย์.
ศรีนครินทร์เวชสาร. 2551; 23: 250-7.
10. ตรีพร ก?ำลังเกื้อ, ชนินันท์ โฆษิตกุลจ, กนกพร
สุขโต. ทัศนคติของนักศึกษาแพทย์ต่อการจัดการ
เรียนการสอนวอร์ดราวน์ในหลักสูตรแพทยศาสตร
บัณฑิต. Rama Med J. 2561; 41: 48-57.
11. วินิทรา นวลละออง. ความเครียดในนักศึกษา
แพทย์ชั้นคลินิก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ธรรมศาสตร์เวชสาร. 2553; 10: 95-102.
12. รุ่งรัตน์ ระย้าแก้ว, วัลลี สัตยาศัย. ความเครียด
ของนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 4-6 กรณีศึกษา
ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาล
พุทธชินราช พิษณุโลก. ธรรมศาสตร์เวชสาร.
2556; 12: 17-23.