บทบาทพยาบาลในการดูแลมารดาที่มีบุตรคลอดก่อนกำหนด: ระยะเปลี่ยนผ่านเข้าสู่บทบาทการเป็นมารดา

ผู้แต่ง

  • Netsumol Jatulajanyalate สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย

คำสำคัญ:

บทบาทพยาบาล, ทารกคลอดก่อนกำหนด, ระยะเปลี่ยนผ่านเข้าสู่บทบาทการเป็นมารดา

บทคัดย่อ

การคลอดบุตรก่อนกำหนดนับเป็นประสบการณ์ที่ไม่คาดคิด และส่งผลกระทบทางลบต่อทั้งมารดาและทารก ซึ่งทารกที่คลอดกำหนดมักเกิดปัญหาทางด้านสุขภาพตามมา เช่น ภาวะหายใจลำบาก น้ำหนักตัวน้อย หรือความพิการแต่กำเนิด ส่งผลให้ทารกกลุ่มนี้ต้องเข้ารับการรักษาที่หน่วยอภิบาลทารกแรกเกิดภาวะวิกฤต และมีระยะเวลาในการนอนโรงพยาบาลที่ยาวนาน มารดากลุ่มนี้จึงต้องเผชิญกับการแยกจากกับทารกทันทีภายหลังคลอด ถูกจำกัดการแสดงบทบาทการเป็นมารดา ภายใต้บริบทของหอผู้ป่วยและความรุนแรงของภาวะสุขภาพทารก ก่อให้มารดาเกิดความวิตกกังวลและเผชิญกับความยากลำบากในระยะของการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่บทบาทการเป็นมารดา อีกทั้งมารดากลุ่มนี้มักมีแนวโน้มที่จะเกิดปัญหาในด้านการเลี้ยงดูบุตรและปัญหาทางด้านจิตใจในระยะยาว ดังนั้น พยาบาลควรให้ความสำคัญในการดูแลมารดาที่คลอดบุตรก่อนกำหนด ไม่ว่าจะเป็นการตระหนักถึงปัญหาทางด้านจิตใจที่มารดากลุ่มนี้เผชิญ มีส่วนช่วยเสริมสร้างพลังอำนาจของมารดาต่อการแสดงบทบาทการเป็นมารดา มีการวางแผนจำหน่ายทารกร่วมกับครอบครัว และการติดตามดูแลอย่างต่อเนื่องเมื่อมารดานำบุตรกลับบ้าน รวมทั้งการพัฒนาช่องทางการติดต่อสื่อสาร เพื่อช่วยให้มารดากลุ่มนี้ เกิดความมั่นใจในการเลี้ยงดูบุตร สามารถก้าวผ่านอุปสรรคและเปลี่ยนผ่านเข้าสู่บทบาทการเป็นมารดาได้อย่างสมบูรณ์

References

รุ่งทิวา หวังเรืองสถิตย์, จารุวรรณ รังสิยานนท์, อัญชลี รุ่งฉาย, เพ็ญนภา ดํามินเศก, และลาวัณย์ สายสุวรรณ. (2562). แนวทางการเตรียมความพร้อมมารดาในการดูแลทารกคลอดก่อนกําาหนด ภายหลังจําาหน่ายออกจากโรงพยาบาลในประเทศไทย: การสังเคราะห์งานวิจัยอย่างเป็นระบบ. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 39(1), 66-78.

วิไลลักษณ์ เผือกพันธ์, สุพิศ ศิริอรุณรัตน์, และวรรณทนา ศุภสีมานนท์. (2563). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าหลังคลอดในมารดาคลอดก่อนกำหนด. วารสารแพทย์นาวี, 47(2), 432-445.

อัจฉราวดี ศรียะศักดิ์, ถวิล ซำคง, วารุณี เกตุอินทร์, บุศย์รินทร์ อารยะธนิตกุล, และสุอารี ล้ำตระกูล. (2564). บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมพัฒนาการทารกคลอดก่อนกำหนดภาวะวิกฤติโดยเน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลาง. วารสารพยาบาลทหารบก, 22(1), 101-109.

อุ่นใจ กออนันตกุล. (2562). การคาดการณ์การคลอดก่อนกำหนดเพื่อป้องกันรักษา. สูตินรีแพทย์สัมพันธ์, 28(1), 8-15.

Amsri, P., Deoisres, W., & Suppaseemanont, W. (2019). Factors influencing stress among mothers of preterm infant hospitalized in neonatal intensive care unit. The Journal of Faculty of Nursing Burapha University, 27(3), 54-63.

Berhane, M., Workineh, N., Girma, T., Lim, R., Lee, K. J., Nguyen, C. D., . . . Russell, F. M. (2019). Prevalence of low birth weight and prematurity and associated factors in neonates in Ethiopia: results from a hospital-based observational study. Ethiopian Journal of Health Sciences, 29(6), 677-688.

Fowler, C., Green, J., Elliott, D., Petty, J., & Whiting, L. (2019). The forgotten mothers of extremely preterm babies: A qualitative study. Journal of Clinical Nursing, 28(11-12), 2124-2134.

Goncalves, J. L., Fuertes, M., Alves, M. J., Antunes, S., Almeida, A. R., Casimiro, R., & Santos, M. (2020). Maternal pre and perinatal experiences with their full-term, preterm and very preterm newborns. BMC Pregnancy and Childbirth, 20(1), 1-16. doi:10.1186/s12884-020-02934-8

Gondwe, K. W., Brandon, D., Yang, Q., Malcom, W. F., Small, M. J., & Holditch-Davis, D. (2020). Emotional distress in mothers of early-preterm infants, late-preterm infants, and full-term infants in Malawi. Nursing Outlook, 68(1), 94-103.

Granero-Molina, J., Fernández Medina, I. M., Fernández-Sola, C., Hernández-Padilla, J. M., Jiménez Lasserrotte, M., & López Rodríguez, M. (2019). Experiences of mothers of extremely preterm infants after hospital discharge. Journal of Pediatric Nursing, 45, e2-e8.

Leahy-Warren, P., Coleman, C., Bradley, R., & Mulcahy, H. (2020). The experiences of mothers with preterm infants within the first-year post discharge from NICU: social support, attachment and level of depressive symptoms. BMC Pregnancy and Childbirth, 20(1), 260.

Lomotey, A. Y., Bam, V., Diji, A., Asante, E., Asante, H. B., & Osei, J. (2019). Experiences of mothers with preterm babies at a mother and Baby Unit of a tertiary hospital: A descriptive phenomenological study. Nursing Open, 7(1), 150-159.

Mercer, R. T. (2004). Becoming a mother versus maternal role attainment. Journal of Nursing Scholarship, 36(3), 226-232.

Pinar, G., & Erbaba, H. (2020). Experiences of new mothers with premature babies in neonatal care units: A qualitative study. Journal of Nursing and Practice. 3(1), 179-185.

Sarapat, P., Fongkaew, W., Jintrawet U., Mesukko J., & Ray, L. (2017). Perceptions and practices of parents in caring for their hospitalized preterm infants. Pacific Rim International Journal of Nursing Research, 21(3), 220-233.

Sasaki, Y., Ishikawa, K., Yokoi, A., Ikeda, T., Sengoku, K., Kusuda, S., & Fujimura, M. (2019). Short- and long-term outcomes of extremely preterm infants in Japan according to outborn/inborn birth status. Pediatric Critical Care Medicine, 20(10), 963-969.

Spinelli, M., Frigerio, A., Montali, L., Fasolo, M., Spada, M. S., & Mangili, G. (2016). ‘I still have difficulties feeling like a mother’: the transition to motherhood of preterm infants mothers. Psychology & Health, 31(2), 184-204.

The American College of Obstetricians and Gynecologists. (2021). Preterm Labor and Birth. Retrieved from https://www.acog.org/womens-health/faqs/preterm-labor-and-birth

Vogel, J. P., Chawanpaiboon, S., Moller, A. B., Watananirun, K., Bonet, M., & Lumbiganon, P. (2018). The global epidemiology of preterm birth. Best Practice & Research: Clinical Obstetrics & Gynaecology, 52, 3-12.

Walani, S. (2020). Global burden of preterm birth. International Journal of Gynecology & Obstetrics, 150(1), 31-33.

World Health Organization. (2018). Preterm birth. Retrieved from https://www.who.int/newroom/fact-sheets/detail/preterm-birth

Yu, X., Zhang, J., & Yuan, L. (2020). Chinese parents' lived experiences of having preterm infants in NICU: A qualitative study. Journal of Pediatric Nursing, 50, e48-e54.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-01-01

How to Cite