อิทธิพลของความแตกฉานด้านสุขภาพ การรับรู้สมรรถนะแห่งตน และการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยกับบุคลากรสุขภาพ ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงปฐมภูมิ

Main Article Content

หทัยกานต์ ห้องกระจก
นฤมล ปทุมารักษ์
เขมารดี มาสิงบุญ

Abstract

Hypertensive patients require good self-care behaviors to control and prevent complications.
The purposes of this study were to examine self-care behaviors and influences of
health literacy, perceived self-efficacy and patient-health care provider communication on
self-care behaviors among patients with primary hypertension. A sample of 77 patients who
came for follow-up visit at hypertension clinic in Nongmuang Hospital, Lopburi Province,
Thailand was randomly selected to participate in the study. Self- reported questionnaires
were used to collect data which composed of the Demographic Data Questionnaire, Health
Literacy Questionnaire, Perceived Self-efficacy Questionnaire, Patient-Health Care Provider
Communication Questionnaire, and Hypertensive Self-care Behavior Questionnaire. Data
were analyzed using descriptive statistics and multiple regression.
The results showed that patients with primary hypertension had good self-care
behaviors (x = 113.83, SD = 12.67). Health literacy and perceived self-efficacy were significant
predictors and explained 39 percent of variance in self-care behaviors (R2 = .39, p <
.001). Perceived self-efficacy explained most of the variance in self-care behaviors (gif.latex?\beta = .487,
p < .001), followed by health literacy (gif.latex?\beta = .309, p < .01). However, there was no relationship
between patient-health care provider communication and self-care behaviors.
Enhancing self-efficacy and health literacy in nursing intervention to promote competency
for self-care behaviors of patients with primary hypertension are suggested by this
study.

Article Details

Section
Research Article

References

1. World Health Organization. A global brief on hypertension. Geneva: WHO; 2013.

2. พีระ บูรณะกิจเจริญ. โรคความดันโลหิตสูงปฐมภูมิ. กรุงเทพมหานคร: หมอชาวบ้าน; 2553.

3. James PA, Oparil S, Carter BL, Cushman WC, Dennison-Himmelfarb C, Handler J, et al. 2014 evidence-based guideline for the management of high blood pressure in adults: report from the panel members appointed to the Eighth Joint National Committee (JNC 8). JAMA 2014;311(5):507-20.

4. สมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย. แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ. 2555 ปรับปรุง พ.ศ. 2558. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 4 มกราคม 2559]. แหล่งที่มา: https://www.thaihypertension.org.

5. Leung A, Nerenberg K, Daskalopou SS, McBrien K, Zarnke KB, Dasgupta K, et al. Hypertension Canada’s 2016: Candadian hypertension education program guidelines for blood pressure measurement, diagnosis, assessment of risk, prevention, and treatment of hypertension. Can J Cardiol 2016;32(5):569-88.

6. Orem DE. Nursing concepts of practice. 6th ed. United States of America: Mosby; 2001.

7. พรพิมล ว่องไว. การรับรู้ความสามารถตนเองและการสนับสนุนทางสังคมกับการดูแลตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง จังหวัดสระแก้ว. [วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์]. มหาวิทยาลัยมหิดล; 2554.

8. ปธิตา สุริยะ. ความรู้ทางด้านโภชนาการและการบริโภคอาหารของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโรงพยาบาลศูนย์เชียงรายประชานุเคราะห์. [วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโภชนศาสตรศึกษา]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2553.

9. สุมาลี วังธนากร, ชุติมา ผาติดำรงกุล, ปราณี คำจันทร์. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการรับประทานยาในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง. สงขลานครินทร์เวชสาร 2551;26(6):539-47.

10. อรุณี หล้าเขียว, ทวีวรรณ ชาลีเครือ. ความฉลาดทางด้านสุขภาพและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการรับประทานยาในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลเปียงหลวง จังหวัดเชียงใหม่. ในรายงานการประชุมวิชาการและนำเสนอผลการวิจัยระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 6 กลุ่มงานระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์; บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา; 2558. หน้า 635-49.

11. จุฑารัตน์ ทิพย์ญาณ. การรับรู้ความสามารถในการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในอำเภอนาบอน จังหวัดนครศรีธรรมราช. [วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการระบบสุขภาพ]. มหาวิทยาลัยทักษิณ; 2554.

12. สำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย. การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551 - 2552. นนทบุรี: เดอะกราฟฟิโก ซิสเต็มส์; 2553.

13. สภาปฏิรูปแห่งชาติ. วาระปฏิรูปที่ 22: การปฏิรูประบบบริการสุขภาพ วาระปฏิรูปที่ 23: การปฏิรูปการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยคุกคามสุขภาพ วาระปฏิรูปที่ 24: การปฏิรูประบบบริหารจัดการและการเงินการคลังด้านสุขภาพ. กรุงเทพมหานคร: สำนักเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร; 2558.

14. ขวัญเมือง แก้วดำเกิง, นฤมล ตรีเพชรศรอุไร. ความฉลาดทางสุขภาพ. กรุงเทพมหานคร: นิวธรรมดา; 2554.

15. สุรีย์ ธรรมิกบวร. การรอบรู้สุขภาพเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ: การวิเคราะห์แนวคิด. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2551;31(2):53-8.

16. สมฤทัย เพชรประยูร, ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ, คะนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล, ธวัชชัย พีรพัฒน์ดิษฐ์. อิทธิพลของการรับรู้ความรุนแรงของโรค ความแตกฉานด้านสุขภาพและการสนับสนุนจากครอบครัวต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. วารสารพยาบาลศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2555;26(1):38-50.

17. Lee E, Lee YW, Moon SH. A structural equation model linking health literacy to self-efficacy, self-care activities, and health-related quality of life in patients with type 2 diabetes. Asian Nursing Research 2016;10(1):82-7.

18. Chen AM, Yehle KS, Plake KS, Murawski MM, Mason HL. Health literacy and self-care of patients with heart failure. J Cardiovasc Nurs 2011;26(6):446-51.

19. Bandura A. Personal and collective efficacy in human adaptation and change. In Adair JG, Belanger D, Dion KL, editors. Advances in psychological science. United Kingdom: Hove; 1998. p. 51-71.

20. ศรัทธา ประกอบชัย, ศศิมา กุสุมา ณ อยุธยา, ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ, พีระ บูรณะกิจเจริญ. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการรับประทานยาของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง. วารสารพยาบาลศาสตร์ 2557;32(4):43-51.

21. Pinprapapan E, Panuthai S, Vannari T, Srisuphan W. Casual model of adherrence to therapeutic regimens among Thais with hypertension. Pacific Rim Int J Nurs Res 2013;17(3):268-81.

22. Namwong A, Panuthai S, Suwanprapisa T, Khampolsiri T. A casual model of adherence to therapeutic regimens among Thai older adults with hypertension. Pacific rim Int J Nurs Res 2015;19(2):107-21.

23. Ong LM, de Haes JC, Hoos AM, Lammes FB. Doctor-patient communication: A review of the literature. Social Science and Medicine 1995;49(7):903-18.

24. มณีรัตน์ เลย์ตัน. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยกับผู้ให้บริการสุขภาพ: ในมุมมองของผู้ป่วย. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย; 2552.

25. Xu Y. Understanding the factors influencing diabetes self-management in Chinese people with type 2 diabetes using structural equation modeling [Doctoral dissertation]. Ohio: University of Cincinnat; 2005.

26. Saleema L, Panpakdee O, Arpanantikul M, Chai-Aroon T. The influence of basic conditioning factors and self-care agency on self-care behaviors in Thais with hypertension. Pacific rim Int J Nurs Res 2016;20(1):5-17.

27. กระทรวงสาธารณสุข. รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ พ.ศ. 2550. นนทบุรี: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์; 2551.

28. Mayr S, Erdfelder E, Buchner A, Faul F. A short tutorial of g-power. Tutorials in Quantitative Methods for Psychology 2007;3(2):51-9.

29. Manit A, Tuicomepee A, Jiamjarasrangsi W, Taneepanichskul S. Development of needs and resources for self-management assessment instrument in Thais with type 2 diabetes: Cross-cultural adaptation. J Med Assoc Thai 2011;94(11):1304-13.

30. อภินันท์ คูตระกูล. การรับรู้ความสามารถในการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในโรงพยาบาลสันทราย อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่. [วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโภชนศาสตรศึกษา]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2545.

31. ยุทธพงษ์ พรมเสนา. พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่คลินิกโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่. [วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอนามัยชุมชน]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2550.

32. มาโนช หล่อตระกูล, ธนิตา หิรัญเทพ, นิดา ลิ้มสุวรรณ. ตำราพฤติกรรมศาสตร์ทางการแพทย์. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล; 2555.

33. เมธา ขันตินานนท์, เสริมทรัพย์ พุ่มพุทรา. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เขตเทศบาลเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท. วารสารวิชาการสาธารณสุข 2551;17(5):1442-50.

34. ดารารัตน์ อุ่มบางตลาด. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อผลการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานและ/หรือความดันโลหิตสูงที่มารับบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเชียงรากน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารสมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย 2557;4(3):194-207.

35. ปฐญาภรณ์ ลาลุน, นภาพร มัธยมางกูร, อนันต์ มาลารัตน์. พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการแผนกผู้ป่วยนอกอายุรกรรมโรงพยาบาลศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. วารสารการแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ 2554;18(3):161-9.

36. ทักษพล ธรรมรังสี. สถานการณ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และผลกระทบในประเทศไทยปี 2556. นนทบุรี: เดอะกราฟิโก ซิสเต็มส์; 2556.

37. อธิสันติ์ สุนันทศิลป์. การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ตำบลหนองบัวอำเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่. [วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุข]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2556.

38. Reisi M, Mostafavi F, Javadzade H, Mahaki B, Tavassoli E, Sharifirad G. Impact of health literacy, self-efficacy and outcome expectation on expectations on adherence to self-care behaviors in Iranians with type 2 diabetes. OMJ 2016;31(1):54-9.

39. สุพาพร เพ็ชรอาวุธ, นันทิยา วัฒายุ, นันทวัน สุวรรณรูป. ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการจัดการโรคเบาหวานด้วยตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2. วารสารพยาบาลศาสตร์ 2554;29(4):18-26.