การบำบัดทางการพยาบาลต่อความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วยโรคทางระบบประสาท : การวิเคราะห์อภิมาน

Main Article Content

ปรียา เอี่ยมวัน
ชนกพร จิตปัญญา

Abstract

Therapeutic nursing intervention on activities of daily living is an important role of
nurses in rehabilitation and prevention of complications in neurological patients. The purposes
of this meta-analysis were to describe methodological and substantive characteristics of the
studies, and to analyze the effects of nursing interventions on activities of daily living. Nine
studies conducted in Thailand between 2004 to 2014 were recruited. Studies were analyzed
for methodological and substantive characteristics. Effect sizes were calculated for each
study using the method of Glass, McGaw and Smith.
The results of this meta-analysis were as follows:
1. All of these studies were the Master’s thesis in the field of nursing science. Most
of them were at good quality. All research were quasi-experimental, identified the conceptual
framework and one – tailed test. Most studies used a purposive sample recruiting both male
and female patients. Most samples of these studies were patients with stroke (77.78%). Data
were analyzed by t-test (66.67%). Setting the significant level at .001 (55.56%).
2. This meta-analysis yielded 7 effect sizes. Interventions that yielded effect sizes
ranging from high to low were coaching program combined with body movement training
(d=2.99), information-motivation-hand and arm rehabilitation (d=2.72), and comprehensive
rehabilitation and brain exercise (d=0.23).

Article Details

Section
Research Article

References

1. สมนึก นิลบุหงา. ระบบประสาทและการทำงาน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2555.

2. American Stroke Association [ASA]. Heart disease and stroke statistics update. In Preface. [Internet]. [cited 2016 July 5]. Available from: www.americanheart.org2presenter.

3. นงลักษณ์ วิรัชชัย. การวิเคราะห์อภิมาน. กรุงเทพมหานคร: นิชินแอดเวอร์ไทซิ่งกรุ๊ป; 2542.

4. กมลทิพย์ หาญผดุงกิจ. ใน กิ่งแก้ว ปาจรีย์ (บรรณาธิการ). การฟื้นฟูสมรรถภาพ. กรุงเทพมหานคร: งานตำราวารสารและสิ่งพิมพ์สถานเทคโนโลยีการศึกษาแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล; 2547.

5. Glass GV, McGaw B, Smith ML. Meta-analysis in social research. London: Sage Publications; 1981.

6. นพรัตน์ รุจิรารุ่งเรือง. ผลของโปรแกรมการสอนแนะร่วมกับการฝึกการเคลื่อนไหวของร่างกายต่อความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2551.

7. สุจิตรา มหาสุข. ผลของโปรแกรมการใช้ข้อมูล การสร้างแรงจูงใจ และการฟื้นฟูมือและแขนต่อการทำกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2557.

8. จรรยา ทับทิมประดิษฐ์. ผลการเตรียมผู้ดูแลต่อการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองโรงพยาบาลลำปาง. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2547.

9. จุไร เกลี้ยงเกลา. ผลของการเตรียมผู้ดูแลต่อการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2547.

10. นพวรรณ ผ่องใส. ผลของการดูแลตามระยะเปลี่ยนผ่านต่อความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2552.

11. อัญชุลี ไชยวงศ์น้อย. ผลของการดูแลแบบเอื้ออาทรของสแวนสันต่อการทำกิจวัตรประจำวันและความผาสุกของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลผู้สูงอายุ]. มหาวิทยาลัยบูรพา; 2557.

12. สนธยา ทองรุ่ง. ผลของโปรแกรมการปรับตัวต่อความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน]. มหาวิทยาลัยนเรศวร; 2555.

13. นงนภัส พันธุ์แจ่ม. ผลของโปรแกรมการฟื้นฟูสภาพร่วมกับการบริหารสมองต่อการทำหน้าที่ด้านการคิดและความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2549.

14. วิภาวี ไชยวรรณ์. ผลของการออกกำลังกายต่อการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วยโรคมัลติเพิลสเคลอโรซิส. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2552.

15. McCloskey J, Bulechek G. Nursing Interventions Classification. 5th ed. St.Louis MO: Mosby; 2008.

16. บุณฑริก ค้าขาย. การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีกจากโรคหลอดเลือดสมองที่บ้านโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพยาบาลชุมชน]. มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2553.

17. เสาวนีย์ กุลเสวตร์. ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลในการออกกำลังกายที่บ้านเพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในชุมชน ตำบลน้ำโจ้ อำเภอแม่ทา จังหวัดลำปาง. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2557.

18. วาสนา มูลฐี. ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองและญาติผู้ดูแลระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านต่อความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน ภาวะแทรกซ้อนและความพึงพอใจของผู้ป่วย. วารสารสภาการพยาบาล 2556;31(1):95-109.

19. อารมณ์ บุญเกิด. ประสิทธิผลของการเตรียมก่อนกลับบ้านต่อความสามารถในการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองและความสามารถในการดูแลผู้ป่วยของผู้ดูแล. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์]. มหาวิทยาลัยมหิดล; 2540.

20. ภูตะวัน คทวณิช. ผลของการให้การปรึกษาโดยใช้ทฤษฏีของ Rogers ต่อการเห็นคุณค่าในตนเองและความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันในผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีก. [วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษา]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2550.

21. กนกพรรณ กรรณสูต. ประสิทธิภาพของการฝึกทักษะในการทำกิจวัตรประจำวันด้วยกิจกรรมแบบมอนเตสซอรี่ในผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมระยะเริ่มแรก. [วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตเวชศาสตร์]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2551.

22. สุนันญา พรมตวง. ประสิทธิผลของการปฏิบัติการพยาบาลต่อผลลัพธ์ด้านสุขภาพของผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่ได้รับเครื่องช่วยหายใจ. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2553.

23. ชวลี แย้มวงษ์. ผลของการประยุกต์ใช้ระบบการพยาบาล ตามทฤษฎีการพยาบาลของโอเร็มต่อความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติต่อการพยาบาลที่ได้รับและความสามารถในการทำ กิจวัตรประจำวันของผู้ป่วยสูงอายุที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่]. มหาวิทยาลัยมหิดล; 2538.

24. สุทธิชัย จิตะพันธ์กุล. หลักสำคัญของเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2544.

25. นวลสกุล แก้วลาย. การวิเคราะห์เมตาเกี่ยวกับวิธีการพยาบาลเพื่อจัดการกับความเจ็บปวดหลังผ่าตัด. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์และศัลยศาสตร์]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2545.

26. วาณุรี ฉวีศักดิ์. ประสิทธิผลของการปฏิบัติการพยาบาลต่อผลลัพธ์ด้านสุขภาพผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง: การวิเคราะห์อภิมาน. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2550.

27. วาสนา ธรรมสอน. ประสิทธิผลของการปฏิบัติการพยาบาลต่อผลลัพธ์ด้านสุขภาพของผู้ดูแลในครอบครัวของผู้ป่วยบาดเจ็บสมองและผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง: การวิเคราะห์อภิมาน. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2550.

28. ชัญญา ถนอมลิขิต. ประสิทธิผลของการปฏิบัติการพยาบาลต่อผลลัพธ์ด้านสุขภาพของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองวัยผู้ใหญ่: การวิเคราะห์อภิมาน. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2551.

29. Mozaffarian D, Benjamin EJ, Go AS, Arnett DK, Blaha MJ, Cushman M, et al.Heart Disease and Stroke Statistics-2016 Update A Report From the American Heart Association. Circulation 2016;133(4):e38-360.

30. สมจิต หนุเจริญกุล. การพยาบาล: ศาสตร์ของการปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: วี เจ พริ้นติ้ง; 2543.

31. บุญใจ ศรีสถิตนรากูร. ระเบียบวิธีการวิจัยทางพยาบาลศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: ยูแอนด์ไอ อินเตอร์มีเดีย; 2547.

32. วิจิตร ศรีสุพรรณ. การวิจัยทางการพยาบาล: หลักการและแนวปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 4. เชียงใหม่: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2552.