ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย วัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์กับความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลสังกัดกรมแพทย์ทหารเรือ

Main Article Content

จิรภา เพ็งฉาย

Abstract

The purposes of this descriptive and correlational research were to study the learning
organization, transformational leadership of head nurses, constructive organizational culture
and to examine the relationship between transformational leadership of head nurses,
constructive organizational culture and learning organization as perceived by staff nurses in
hospitals under the jurisdiction of Naval Medical Department. The sample was 229 nurses
selected by the simple random sampling technique. The questionnaires were used to assess
the learning organization, transformational leadership of head nurses and constructive
organizational culture. Content validity of questionnaires were checked by five experts and
the Cronbach’s alpha coefficient were 0.98, 0.94 and 0.97 respectively. Data were analysed
by using percentage, mean, standard deviation and Pearson’s product-moment correlation
coefficient.
The research results showed that transformational leadership of head nurses,
constructive organizational culture and learning organization as perceived by staff nurses
under the Naval Medical Department were at high level in overall and each dimension. It also
found that transformational leadership of head nurses, constructive organization culture had
moderate and positive relationship with learning organization with a significant level of p.01
(r = .639 and .702, respectively).

Article Details

Section
Research Article

References

1. Armstrong A, Foley P. Foundations for a learning organization: organization learning mechanisms. The Learning organization: an international journal 2003; 10(2): 74-82.

2. ปาริชาติ ชัยอินทร์. ภาวะผู้นำทางการพยาบาลกับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของโรงพยาบาลในเขตกรุงเทพมหานคร. [วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาการบริหารโรงพยาบาล]. มหาวิทยาลัยมหิดล; 2551.

3. Seng PM. The fifth discipline: The art and practice of learning organization. New York: Double day; 1990.

4. De Villiers W A. The learning organization: validating a measuring instrument. The journal of Applied Business Research 2008; 24(4): 11-20.

5. Pool SW. The learning organization: Motivating employees, integrating TQM philosophy in a supportive organizational culture. Leadership and Organization Development Journal 2000; 21(8): 373–78.

6. Chang Su-Chao, Lee Ming-Shing. A study on relationship among leadership, organizational culture, the operation of learning organization and employees’ job satisfaction. The Learning Organization 2007; 14(2): 155-185.

7. Avolio BJ, Bass BM, Jung DI. Reexamination the component of transformation and transaction leadership using the multifactor leadership questionnaire. Journal of Occupation and Organizational Psychology 1999;72(4): 411-62.

8. Marquardt MJ, Reynolds A. The global learning organization. New York: IRWIN; 1994.

9. เมตตา ชัยถิรสกุล. ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมองค์การเชิงสร้างสรรค์กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงกลาโหมและสำนักงานตำรวจแห่งชาติ. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล]. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช; 2551.

10. Cooke R, Lafferty J. Level V: Organizational culture inventory - form I. Plymouth MI: Human Synergistics; 1989.

11. เกศรา รักชาติ. องค์กรแห่งการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร: เนชั่นมัลติมีเดีย กรุ๊ป; 2547.

12. กรมแพทย์ทหารเรือ. การจัดการความรู้สู่ยุทธศาสตร์: Knowledge management towards Strategy implementation. ในการประชุมวิชาการกรมแพทย์ทหารเรือ ครั้งที่ 26. 3-5 กันยายน 2556; โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์.

13. Yamane T. Statistics: an introduction analysis. 2nd ed. New York: Harper & Row; 1970.

14. กิ่งกาญจน์ ใจซื่อกุล. ความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาตนเองของพยาบาลวิชาชีพ ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของกลุ่มการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพประจำการ โรงพยาบาลชุมชน เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล]. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช; 2554.

15. นฤมล ตั้งเจริญธรรม. ความสัมพันธ์ภาวะผู้นำแบบอย่างของหัวหน้าหอผู้ป่วย วัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์กับประสิทธิผลของผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลรัฐระดับตติยภูมิในเขต 15 และ 17. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล]. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช; 2551.

16. บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร. ระเบียบวิธีการวิจัยทางพยาบาลศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: ยูแอนด์ไออินเตอร์มีเดีย; 2553.

17. กรมแพทย์ทหารเรือ. นโยบายการจัดการความรู้ ปี 2556. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2556]. แหล่งที่มา: https://www.nmd.go.th/kmnmd2/.

18. พัชรา พันธ์เจริญ. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศการสื่อสารในองค์การภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของฝ่ายการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการพยาบาล]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2546.

19. วรรณวิมล คงสุวรรณ. รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุองค์กรแห่งการเรียนรู้ทางการพยาบาลในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ. [ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการทางการพยาบาล]. มหาวิทยาลัยคริสเตียน; 2553.

20. จารุณี อิฎฐารมย์. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยการมีส่วนร่วมในงานกับประสิทธิผลของหน่วยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉินโรงพยาบาลรัฐ เขตกรุงเทพมหานคร. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการพยาบาล]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2550.

21. เรมวล นันท์ศุภวัฒน์. ภาวะผู้นำทางการพยาบาลในองค์การ. เชียงใหม่: นพบุรีการพิมพ์; 2542.

22. ศุภลัคน์ ปู่ประเสริฐ. ปัจจัยที่มีผลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของกลุ่มงานการพยาบาลตามรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลรัฐเขตกรุงเทพมหานคร. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการพยาบาล]. มหาวิทยาลัยบูรพา; 2546.

23. สายใจ รัตนพันธ์. ปัจจัยที่มีผลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของกลุ่มงานการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลชุมชนเขต 16. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการพยาบาล]. มหาวิทยาลัยบูรพา; 2549.

24. สงวนศรี พันธุ์พานิช. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ภาคใต้ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล]. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช; 2551.

25. นิลวรรณ อุ่นคำ. ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้วัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์กับการรับรู้องค์การแห่งการเรียนรู้ของพยาบาลวิชาชีพสังกัดกลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล โรงพยาบาลกาฬสินธุ์. [งานนิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการพยาบาล]. มหาวิทยาลัยบูรพา; 2554.

26. เพ็ญศรี ฉายสบัด. ปัจจัยที่มีผลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลชุมชน เขต 7 สังกัดกระทรวงสาธารณสุข. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารการพยาบาล]. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช; 2551.

27. เกศรี ลีลาศรีบรรจง. การประเมินองค์การแห่งการเรียนรู้ของสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. [วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการบริหาร]. สถาบันบัณฑิตพัฒนศาสตร์; 2554.

28. ปัทมา จันทวิมล. ตัวแปรคัดสรรที่ส่งผลต่อลักษณะการเป็นองค์กรเอื้อการเรียนรู้ของหน่วยงานฝึกอบรมภาคเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาโสตทัศนศึกษา]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2544.

29. ราณี หงส์สถิตย์. ความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทหัวหน้าหอผู้ป่วยกับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดชลบุรี. [งานนิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการพยาบาล]. มหาวิทยาลัยบูรพา ; 2545.

30. บุษบา เภกะสุต. ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์กับองค์การแห่งการเรียนรู้ของกลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลพระปกเกล้าจันทบุรี. [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการพยาบาล]. มหาวิทยาลัยบูรพา; 2549.

31. มัณทนา สุวรรณไพบูลย์. ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพื้นฐานการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลศูนย์เขตภาคเหนือ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการพยาบาล]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2549.

32. Garvin DA. Building a learning organization. Harvard Business Review 1993;July-August:778-9.