ผลกระทบของความปกติใหม่ (New Normal) จากสถานการณ์การระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่มีต่อคุณภาพชีวิตนักศึกษา ในหลักสูตรนานาชาติ คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล

ผู้แต่ง

  • รุ่งทิพย์ พงษ์อัคคศิรา คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล
  • เอกนรินทร์ โชคนาคะวโร คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล
  • ภครตี ชัยวัฒน์ คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล

DOI:

https://doi.org/10.14456/jmu.2023.18

คำสำคัญ:

ความปกติใหม่, ไวรัสโคโรนา, นักศึกษาหลักสูตรนานาชาติ คณะกายภาพบำบัด, คุณภาพชีวิต

บทคัดย่อ

         การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของความปกติใหม่ จากสถานการณ์ระบาดไวรัสโคโรนา
COVID-19  ที่มีต่อคุณภาพชีวิตนักศึกษาในหลักสูตรนานาชาติ คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต จำนวน 32 คน เครื่องมือที่ใช้
เป็นแบบสอบถามในรูปแบบออนไลน์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ SPSS (Statistical Package for Social Science) โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และใช้สถิติอนุมานทดสอบสมมุติฐาน

         ผลการวิจัยพบว่า ระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยภายนอกที่ต่างกัน จำแนกตามด้านกายภาพและสิ่งแวดล้อม
ด้านสังคมและเศรษฐกิจ และด้านเทคโนโลยี ให้ระดับความคิดเห็นต่อคุณภาพชีวิตนักศึกษาโดยภาพรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ผลการวิจัยความสัมพันธ์พบว่า ปัจจัยภายในองค์กรด้านการเรียนการสอน
ด้านอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อมมีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตนักศึกษาด้านกายภาพและสิ่งแวดล้อม ปัจจัยภายในองค์กรด้านสังคม ด้านอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตนักศึกษาด้านสังคม และปัจจัยภายนอกด้านสังคมและเศรษฐกิจ ด้านเทคโนโลยี มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตนักศึกษาด้านกายภาพและสิ่งแวดล้อม

References

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม, ศูนย์ข้อมูล COVID-19 (2563). New Normal ชีวิตวิถีใหม่ และการปรับตัวในภาวะ COVID-19. สืบค้น 6 พฤษภาคม 2563, จาก https://www.mhesi.go.th/index.php/cont ent_page/item/1448-new-normal.html

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (2563). PANDEMIC New Normal: ความปกติใหม่ของสังคมโลก. สืบค้น 6 พฤษภาคม 2563, จาก https://www.bangkokbiznews.com/columnist/124820

จันทรา อุ้ยเอ้ง (2564). คุณภาพชีวิตของนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง. วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร ฉบับพิเศษ การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 5, 141-148.

ดวงกมล คณโฑเงิน (2556). ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่มาบตาพุด จังหวัดระยอง. วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม, 9(2), 65-88.

ธนิตา ชี้รัตน์ (2554). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตนิสิตมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์. [การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี] http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/bitstream/123456789/845/1/124379.pdf

ลัชชา ชุณห์วิจิตรา และ ณัฐณี แต้สกุล(2563). การสำรวจสภาพปัญหาของนิสิตบัณฑิตศึกษานานาชาติ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในช่วงปิดสถานศึกษาชั่วคราวจากการแพร่ระบาดของการติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนาสายพันธ์ใหม่ COVID-19. วารสาร Mahidol R2R e-Journal, 7(1), 159-173.

สุริยัน อ้นทองทิม, ภูกิจ เล้าจีรัณกุล, ศศิวิมล พจน์พาณิชพงศ์ และ ชลิตตาภรณ์ ดวงติ๊บ (2560). การปรับตัวของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 สถาบันอุดมศึกษาภายในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย. วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 23(1), 18-25.

New Normal ความปกติใหม่ที่คุ้นเคย (2563). สืบค้น 6 พฤษภาคม 2563, จาก https://www.terrabkk.com/articles/198400/8-new-normal

Bush, T. (2020, March 9). PEST Analysis of Coronavirus: Pandemic’s 9 Impacts to World. Retrieved May 9, 2020, from https://pestleanalysis.com/coronavirus-pest-analysis/

Díaz de León-Martínez, L., de la Sierra-de la Vega, L., Palacios-Ramírez, A., Rodriguez-Aguilar, M., & Flores-Ramírez, R. (2020). Critical review of social, environmental and health risk factors in the Mexican indigenous population and their capacity to respond to the COVID-19. Science of The Total Environment,, 733, 139357. https://doi.org/10.1016/j.scitotenv.2020.139357

Favale, T., Soro, F., Trevisan, M., Drago, I., & Mellia, M. (2020). Campus traffic and e-Learning during COVID-19 pandemic. Computer Networks, 176, 107290. https://doi.org/10.1016/j.comnet.2020.107290

He, H., & Harris, L. (2020). The impact of Covid-19 pandemic on corporate social responsibility and marketing philosophy. Journal of Business Research,, 116, 176-182. https://doi.org/10.1016/j.jbusres.2020.05.030

Iyengar, K., Upadhyaya, G. K., Vaishya, R., & Jain, V. (2020). COVID-19 and applications of smartphone technology in the current pandemic. Diabetes & Metabolic Syndrome: Clinical Research & Reviews, 14(5), 733-737. https://doi.org/10.1016/j.dsx.2020.05.033

Kapasia, N., Paul, P., Roy, A., Saha, J., Zaveri, A., Mallick, R., . . . Chouhan, P. (2020). Impact of lockdown on learning status of undergraduate and postgraduate students during COVID-19 pandemic in West Bengal, India. Children and Youth Services Review, 116, 105194. https://doi.org/10.1016/j.childyouth.2020.105194

Kertesz, Daniel A. (2020, April 24). Life with Covid-19 - a new norm. Retrieved May 9, 2020, from https://www.bangkokpost.com/opinion/opinion/1906490/life-with-covid-19-a-new-norm

Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30, 607-610

Kumar, A., Gupta, P. K., & Srivastava, A. (2020). A review of modern technologies for tackling COVID-19 pandemic. Diabetes Metab Syndr, 14(4), 569-573. https://doi.org/10.1016/j.dsx.2020.05.008

Lee, V. J., Chiew, C. J., & Khong, W. X. (2020). Interrupting transmission of COVID-19: lessons from containment efforts in Singapore. J Travel Med, 7(3).https://doi.org/10.1093/jtm/taaa039

Mogaji, E. (2020). Impact of COVID-19 on transportation in Lagos, Nigeria. Transportation Research Interdisciplinary Perspectives, 6, 100154. https://doi.org/10.1016/j.trip.2020.100154

Nguyen, D. V., Pham, G. H., & Nguyen, D. N. (2020). Impact of the Covid-19 pandemic on perceptions and behaviors of university students in Vietnam. Data Brief, 31, 105880. https://doi.org/10.1016/j.dib.2020.105880

Nunnally, J. C. (1978). Psychometric Theory (2 nd ed.). McGraw-Hill.

Odriozola-González, P., Planchuelo-Gómez, Á., Irurtia, M. J., & de Luis-García, R. (2020). Psychological effects of the COVID-19 outbreak and lockdown among students and workers of a Spanish university. Psychiatry Research, 290, 113108. https://doi.org/10.1016/j.psychres.2020.113108

Robbins, J. B., England, E., Patel, M. D., DeBenedectis, C. M., Sarkany, D. S., Heitkamp, D. E., . . . Jordan, S. G. (2020). COVID-19 Impact on Well-Being and Education in Radiology Residencies: A Survey of the Association of Program Directors in Radiology. Academic Radiology, 27(8), 1162-1172. https://doi.org/10.1016/j.acra.2020.06.002

Rovinelli, R. J., & Hambleton, R. K. (1977). On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity. Tijdschrift voor Onderwijsresearch, 2(2), 49–60.

Tredinnick, M. (2020, November 10). How to improve your marketing strategy with a PESTLE analysis. Retrieved May 9, 2020, from https://www.practiceweb.co.uk/knowledge/how-to- improve-your-marketing-strategy-with-a-pestle-analysis/

Tzur Bitan, D., Grossman-Giron, A., Bloch, Y., Mayer, Y., Shiffman, N., & Mendlovic, S. (2020). Fear of COVID-19 scale: Psychometric characteristics, reliability and validity in the Israeli population. Psychiatry Research, 289, 113100. https://doi.org/10.1016/j.psychres.202 0.113100

World Health Organization, Thailand, (2020, May 6). WHO Thailand Situation Report. Retrived May 6 2020, from https://www.who.int/docs/default-source/searo/thailand/2020-05-06-tha- sitrep-73-covid19- final.pdf?sfvrsn=b64e31a_0.

Yezli, S., & Khan, A. (2020). COVID-19 social distancing in the Kingdom of Saudi Arabia: Bold measures in the face of political, economic, social and religious challenges. Travel Medicine and Infectious Disease, 37,101692 https://doi.org/10.1016/j.tmaid.2020.101692

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-08-29

ฉบับ

บท

บทความวิจัย