การศึกษาระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการเว็บไซต์ของ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล

ผู้แต่ง

  • ภัทรศิริ จั่นฉิม

DOI:

https://doi.org/10.14456/jmu.2016.5

คำสำคัญ:

การพัฒนาเว็บไซต์, ความพึงพอใจ

บทคัดย่อ

         การวิจัยครั้งนี้เป็นการเก็บรวบรวมแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ เว็บไซต์วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งการวิจัยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) จำนวนทั้งสิ้น 202 คน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเว็บไซต์วิทยาลัยนานาชาติฯ ใน  5 ด้านคือ 1) ด้านการออกแบบหน้าเว็บไซต์ 2) ด้านระบบนำทาง 3) ด้านตัวอักษร และการจัดรูปแบบ  4) ด้านการใช้สีในเว็บไซต์  และ 5) ด้านการเข้าถึงข้อมูลในเว็บไซต์

         ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าผู้ใช้บริการเว็บไซต์มีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (gif.latex?\bar{x} =3.39) เมื่อ พิจารณารายด้านพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจในด้านตัวอักษรและการจัดรูปแบบมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด (gif.latex?\bar{x} =3.68)  รองลงมาคือด้านการใช้สีในเว็บไซต์ ด้านการออกแบบหน้าเว็บไซต์ ด้านระบบนำทาง และด้านเข้าถึงข้อมูลใน เว็บไซต์ (gif.latex?\bar{x} =3.55, 3.51, 3.12 และ 3.12 ตามลำดับ)

References

กิตติพงษ์ จำรูญ และวัชรินทร์ ศรีรักษา. (2551). พัฒนาเว็บไซต์สาขาเทคโลโลยีการศึกษา ระดับปริญญาโท คณะศึกษาศาสตร์ มหา วิทยาลัยขอนแก่น. วารสารศึกษาสาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ปีที่ 2, 191-197.

ชมภูมาศ ธัญน้อม. (2551). การวิเคราะห์และพัฒนา เว็บไซต์เพื่อเผยแพร่ข้อมุูลด้านศิลปวัฒนธรรม: กรณีศึกษาสำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม 6. กรุงเทพมหานคร: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ชนัญญา เกบไว้. (2548). การวิเคราะห์เว็บไซต์สำหรับวิทยบริการของมหาวิทยาลัยราชภัฏ. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏ บ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

หัสนัย ริยาพันธ์. (2554). การพัฒนาเว็บไซต์ศาลา พุ่มข้าวบิณฑ์. นนทบุรี: มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช.

สกนธ์ ภู่งามดี. (2556). พื้นฐานการออกแบบกราฟิก. กรุงเทพมหานคร: บุ๊ค พอยท์.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2016-06-27

ฉบับ

บท

บทความวิจัย