การพัฒนาการดำเนินงานโรงพยาบาลอาหารปลอดภัยจังหวัดอุดรธานี
คำสำคัญ:
การดำเนินงาน, โรงพยาบาลอาหารปลอดภัยบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ : เพื่อถอดบทเรียนการดำเนินงานโรงพยาบาลอาหารปลอดภัยจังหวัดอุดรธานี
รูปแบบการวิจัย : การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action research)
วัสดุและวิธีการวิจัย : กลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญเป็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานตามนโยบายโรงพยาบาลอาหารปลอดภัย จำนวน 33 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และแนวคำถามสำหรับการสัมภาษณ์ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย : ผลการถอดบทเรียนการดำเนินงานโรงพยาบาลอาหารปลอดภัยจังหวัดอุดรธานี ประกอบด้วย 6 ขั้น ได้แก่ (1) การกำหนดและประกาศนโนบาย “โรงพยาบาลอาหารปลอดภัย” โดยผู้บริหาร และประชาสัมพันธ์ทั้งในและนอกเครือข่ายสุขภาพ (2) แต่งตั้งคณะทำงาน“โรงพยาบาลอาหารปลอดภัย” (3) จัดทำแผนปฏิบัติการ (Action plan) และนำแผนไปสู่การปฏิบัติ (4) คัดเลือก จัดทำมาตรฐาน และดำเนินการตรวจสอบ 5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร และเครือข่ายสุขภาพ และ (6) กำกับ ตรวจสอบ และประเมินผลอย่างต่อเนื่อง
สรุปและข้อเสนอแนะ : ผลการวิจัยครั้งนี้ส่งผลให้ได้แนวทางการดำเนินงานที่เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ ดังนั้นควรนำแนวทางดังกล่าวไปปฏิบัติเพื่อการดำเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์
References
กองบริหารการสาธารณสุข. มาตรฐานโรงพยาบาลอาหารปลอดภัย. พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี: บอร์นทูบีพับลิชชิ่ง; 2561.
นปภัช นฤคนธ์. ระบบบริการโรงพยาบาลอาหารปลอดภัยของโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไปในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. วารสารวิชาการสาธารณสุข. 2563;29(5):884-96.
คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข. กรอบยุทธศาสตร์การจัดการด้านอาหารของประเทศไทยฉบับที่สอง พ.ศ.2560-2579. นนทบุรี: สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา; 2560.
Krause M V. Hunscher M A. Food. Nutrition and Diet Therapy. Philadelphia : W.B. Saunders Company; 1972.
Lawler, Marilyn R. Normal and Therapeutic Nutrition. New York : Macmillan Publishing Co Inc; 1977.
พงศ์ธร เกียรติดำรงศ์, บรรณาธิการ. Nutrition update. กรุงเทพฯ: พราวเพรส (2002) จำกัด; 2556.
Prosser-Loose E J, Verge V M, Cayabyab F S, Paterson P G. Protein-energy malnutrition alters hippocampal plasticity-associated protein expression following global ischemia in the gerbil. Curr Neurovasc Res. 2010;7(4):341-60.
Kang Y, Lee H S, Paik N J, Kim W S, Yang M. Evaluation of enteral formulas for nutrition, health, and quality of life among stroke patients. Nutr Res Pract. 2010;4(5):393-9.
กองบริหารการสาธารณสุข. มาตรฐานโรงพยาบาลอาหารปถอดภัย (Food Safety Hospital). นนทบุรี: บริษัท บอร์น ทู บี พับลิซชิ่ง จำกัด; 2560.
วิจารณ์ พานิช. การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง : Transformative Learning. วารสารบัณฑิตศึกษา. 2563;14(2):241-50.
จตุพร วิศิษฎ์โชติอังกูร. ถอดบทเรียน (นอกกรอบ) เรื่องเล่าวิธีวิทยาถอดบทเรียนผ่านประสบการณ์การทำงาน. กรุงเทพฯ: โครงการระบบออนไลน์เพื่อการจัดการความรู้สุขภาวะ; 2553.
วิจารณ์ พานิช. การจัดการความรู้ ฉบับนักปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม; 2548.
Deming w. Edwards. Out of the Crisis. MIT Center for Advanced Engineering Study; 1986.
อภิชัย พันธเสน. สังเคราะห์องค์ความรู้เศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ: กองทุนสนับสนุนการวิจัย; 2550.
น้ำทิพย์ จองศิริ, วัชรพงษ์ แสนใจยา. การพัฒนาการดำเนินงานโรงพยาบาลอาหารปลอดภัย โรงพยาบาลแพร่. วารสารโรงพยาบาลแพร่. 2564;29(1):65-79.
วิไลวรรณ สาครินทร์. การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการโรงพยาบาลอาหารปลอดภัย จังหวัดสงขลา. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ. 2564;15(1):226-40.
พิสมัย บุษบุญ, มะลิวรรณ อังคณิตย์. การพัฒนาแนวทางการจัดบริการงานด้านโภชนาการภายในโรงพยาบาลเพื่อคุณภาพและความปลอดภัย. วารสารอนามัยสิ่งแวดล้อม และสุขภาพชุมชน. 2566;8(1):153-65.
พรสวรรค์ ไชยคุณ, นฤมล สินสุพรรณ, สุทิน ชนะบุญ. การพัฒนาการดำเนินงานอาหารปลอดภัยในตลาดสด โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ตำบลเปลือยน้อย อำเภอเปลือยน้อย จังหวัดขอนแก่น. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ. 2563;13(2):407-13.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
Versions
- 2024-03-26 (4)
- 2024-03-23 (3)
- 2024-03-23 (2)
- 2024-03-23 (1)
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด
บทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางสุขภาพ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด ถือเป็น ผลงานวิชาการ งานวิจัย วิเคราะห์ ตลอดจนเป็นความเห็นส่วนตัวของผู้ประพันธ์ กองบรรณาธิการไม่จําเป็นต้องเห็น ด้วยเสมอไป และผู้ประพันธ์จะต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง