This is an outdated version published on 2020-10-01. Read the most recent version.

ผลของการใช้แบบเฝ้าระวังสัญญาณเตือนMEWS ผู้ป่วยฉุกเฉิน ในห้องอุบัติเหตุฉุกเฉิน โรงพยาบาลเสลภูมิ

ผู้แต่ง

  • นฤมล มะลาไสย โรงพยาบาลเสลภูมิ

คำสำคัญ:

การเฝ้าระวังสัญญาณเตือน Modified Early Warning Signs ผู้ป่วยอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของการใช้แบบเฝ้าระวังสัญญาณเตือน( Modified Early Warning Signs:MEWS)ในผู้ป่วยฉุกเฉิน ก่อนจำหน่ายออกจากห้องอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน โรงพยาบาลเสลภูมิต่อการกลับมารักษาซ้ำ การส่งรักษาต่อและการใส่ท่อช่วยหายใจ ใน 24 ชั่วโมง

รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงกึ่งทดลอง

วัสดุและวิธีการวิจัย: เปรียบเทียบกลุ่มตัวอย่างที่มาใช้บริการผู้ป่วยห้องฉุกเฉิน ผ่านการคัดแยกตามเกณฑ์ Emergency Severity Index :ESI 5 ระดับ โดยเป็นระดับ2 (Emergent) และระดับ3 (Urgent) จำนวน120 คนกับข้อมูลเวชระเบียนผู้ป่วย ปี 2561 จำนวน 120 คน ศึกษาระหว่างวันที่ 1 มกราคม-31 กรกฎาคม 2562 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ Fisher’s exact test

ผลการวิจัย: การคัดกรองกลุ่มผู้ป่วย ESI เดียวกันอยู่ใน MEWS หลายกลุ่มความแม่นยำขึ้นอยู่กับผู้คัดกรอง ไม่พบการกลับมารักษาซ้ำและการใส่ท่อช่วยหายใจ ส่วนการส่งรักษาต่อโดยไม่วางแผน ลดลง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 (p< 0.001)

สรุปและข้อเสนอแนะ: MEWS จึงเป็นเครื่องมือทางการพยาบาลที่ช่วยให้พยาบาลประเมินผู้ป่วย ตัดสินใจต่อดูแลผู้ป่วยให้การเข้าถึงบริการตามความเร่งด่วนควรเผยแพร่การนำใช้ MEWS ในหน่วยงานต่างๆ ควรพัฒนาโปรแกรมคำนวณ MEWS เชื่อมต่อกับโปรแกรมบันทึกข้อมูลผู้ป่วยเพื่อลดระยะเวลาการบันทึกข้อมูล

References

1. พร บุญมี, เฉลิมพรรณ์ เฆมลอย.วัฒนธรรมความปลอดภัยผู้ป่วยและการพัฒนาวัฒนธรรมความปลอดภัยผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ.การพยาบาลและการศึกษา. 3(48) : 2554.
2. บุศกร กลิ่นอวล. (2559). mini research ผลการใช้ Adult Early Warning Scoring System(MEWS) ของหน่วยงาน เข้าถึงได้จาก:http://www.hospital.tu.ac.th.
3. กิตติพันธ์ จิรสวัสดิ. (2017). เมื่อปัญหาเกิดจากความผิดพลาดของคน (Human Error) จะลดอย่างไร. เข้าถึงได้จาก:https://kitroj.wixsite.com/theexcellenceway/home-1/author.
4. สายสมร เฉลยกิตติ, พรนภา คำพราว, สมพิศ พรหมเดช.ความปลอดภัยของผู้ป่วยกับคุณภาพบริการพยาบาล.วารสารพยาบาลทหารบก.2 : 2557; 67-69.
5. Juan J. Delgado-Hurtado et. Al. Emergency department Modified Early Warning Score association with admission, ad mission disposition mortality, and length of stay. Citation: Journal of Community Hospital Internal Medicine Perspectives.2016. Available from :https://www.ncbi. nlm.nih.gov/pmc/ articles/PMC4848438.
6. ปนิฏฐานาคช่วยและคณะ.MEWS: Adult Pre Arrest Sign กับบทบาทพยาบาล.เวชบันทึกศิริราช. 3 : 2560 ; 186-189.ค้นจากfile:///C:/Users/titichaya/Downloads/106238-Article%20Text-270078-1-10-20171220%20(5).pdf.
7. Evidencio medical decision support.Modified Early Warning Signs (MEWS). (2019). Available from: https://www.evidencio.com/models/show/493.
8. TS Lam and et.(2006) ; 24-30. Validation of a Modified Early Warning Score (MEWS) in emergency
department observation ward patients. Hong Kong j. emerg. Med. Available from: https://pdfs.semanticscholar.org/8ab8/43409ee25bb7b826c24c3aa04788738c01e8.pdf
9. ชัช สุมนานนท์. (2015). Modified Early Warning Scores (MEWS).โรงพยาบาลศรีนครินทร. เข้าถึงได้จาก:http://www.nurse.kku.ac.th/index.php/download/category/13-earlywarning-signs?download=163:early-warning-signs.
10. ไกรศรจันทร์นฤมิตรและคณะ. ความสัมพันธ์ระหว่างความรุนแรงของการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาอายุโรคร่วมกับผลลัพธ์การจำหน่ายออกจากห้องฉุกเฉินในผู้ป่วยฉุกเฉินผู้ใหญ่.วารสารสภาการพยาบาล. 2 : 2559 ; 123-132.
11. วาโร เพ็งสวัสดิ์. (2551) ; 187-188. วิธีวิทยาการวิจัย. กรุงเทพฯ.สุวีริยาสาส์น.
12. J GARDNER-THORPE and et. (2006) : 88 ;571-575.The value of Modified Early Warning Score (MEWS) in surgical in-patients: a prospective observational study. Ann R CollSurgEngl ค้นจากhttps://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC1963767/.
13. แสงโสมช่วยช่วง. ผลของการใช้แนวทางการประเมินสัญญาณเตือนการเข้าสู่ภาวะวิกฤต (MEWS)ในการประเมินและเฝ้าระวังอาการเปลี่ยนแปลงผู้ป่วยในห้องตรวจสวนหัวใจโรงพยาบาลตรัง. วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก. 1 : 2561 ; 72-83.
14. กรรณิกา ศิริแสน, สมพันธ์ หิญชีระนันทน์, ศากุล ช่างไม้. ประสิทธิผลของการใช้ระบบสัญญาณเตือนในการพยาบาลผู้ป่วยในหอผู้ป่วยวิกฤต ในโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร. วารสารพยาบาล.3(64) : 2558 ; 54-60.
15. แสงโสมช่วยช่วง.ผลของการใช้แนวทางการประเมินสัญญาณเตือนการเข้าสู่ภาวะวิกฤต (MEWS)ในการประเมินและเฝ้าระวังอาการเปลี่ยนแปลงผู้ป่วยในห้องตรวจสวนหัวใจโรงพยาบาลตรัง.วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก. 29 : 2561 ; 72-81.
16. Gilboy N, Tanabe T,Traver D, Rosenau AM. (2011). Emergency Severity Index (ESI): A Triage tool for emergency department. Rockville, MD: Agency for Healthcare Research and Quality Available from: htt://www ahrqgov/professionals/systems/hospital/esi/esi1 html.
17. ตุลา วงศ์ปาลีและคณะ. (2561). ผลของการใช้ MEWS ในการดูแลต่อเนื่องของหอผู้ป่วยกึ่งวิกฤตและหอผู้ป่วยหนักงานการพยาบาลผู้ป่วยอายุศาสตร์.วารสารสวนดอก. ประชุมวิชาการค้นจาก http://www.med.cmu.ac.th/hospital/nis/downloads?wptouch_switch=desktop&redirect=%2Fhospital%2Fnis%2Fdownloads%2F%3Fp%3D549.
18. Burch V, TarrG, Morroni C. Modified early warning score predicts the need for hospital admission and inhospital mortality. Emer Med J. 200;25:674-8.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-10-01

Versions