การพัฒนาระบบการคัดกรองผู้ป่วยงานการพยาบาลอุบัติเหตุฉุกเฉิน โรงพยาบาลพล จังหวัดขอนแก่น
คำสำคัญ:
ระบบการคัดกรอง, ผู้ป่วยงานอุบัติเหตุฉุกเฉินบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาสถานการณ์ปัญหาสภาพปัจจุบัน พัฒนาระบบการคัดกรอง และศึกษาประสิทธิผลของการพัฒนาคัดกรองงานอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน โรงพยาบาลพล จังหวัดขอนแก่น
รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action research)
วัสดุและวิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพ และเจ้าพนักงานเวชกิจฉุกเฉิน จำนวน 20 คน ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์การคัดเข้าและเกณฑ์การคัดออก เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกการคัดกรองผู้ป่วย แบบสำรวจความพึงพอใจ แบบบันทึกการสังเกตการปฏิบัติ แบบบันทึกอุบัติการณ์ความเสี่ยง และแบบบันทึกระยะเวลาแต่ละขั้นตอน และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัย: ปัญหาสภาพปัจจุบัน พบว่า การคัดกรองไม่ถูกต้อง ผู้ป่วยฉุกเฉินได้รับการดูแล ช่วยเหลือ และวินิจฉัยล่าช้า,ไม่ถูกต้อง เจ้าหน้าที่ขาดทักษะการปฏิบัติงาน เหนื่อยล้าเนื่องจากภาระงาน การปฏิบัติงานไม่ได้ตามมาตรฐาน จำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้น ระยะเวลาให้บริการผู้ป่วยแต่ละรายมาก การส่งต่อผู้ป่วยหลัง Admit ภายใน 1 ชั่วโมง เพิ่มขึ้น และหน่วยงานถูกร้องเรียน ระบบการคัดกรองมี 3 ขั้นตอน คือ 1) การคัดกรองเบื้องต้นโดยใช้เครื่องมือApple Phon Hospital คือ (1) การใช้ Application to talk and Translate (2) Picture (3) Line Video Call และ (4) Emotion 2) การจัดระดับความรุนแรง 5 ระดับ (1) ระดับ 1 ผู้ป่วยที่ต้องช่วยชีวิตทันที (2) ระดับ 2 ฉุกเฉินมาก (3) ฉุกเฉิน (4) กึ่งฉุกเฉิน (5) ผู้ป่วยทั่วไป และ 3)การแบ่งโซนรับผู้ป่วยตามระดับความรุนแรงผู้ป่วย ผลลัพธ์การพัฒนา พบว่า การบันทึกการปฏิบัติตามขั้นตอนการคัดกรองโดยรวม (97.3 %) เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการและผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อระบบการคัดกรองฯ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และมาก (Mean=4.57, SD=0.37) และ (Mean=4.27, SD=0.41) และผลลัพธ์การเข้าถึงผู้ป่วย Stroke, STEMI, Traumatic brain injury (TBI), Sepsis และการเกิดอุบัติการณ์ความเสี่ยงระดับ E ขึ้นไป พบว่า ส่วนใหญ่บรรลุตามเกณฑ์ตัวชี้วัด
สรุปและข้อเสนอแนะ: ผลการวิจัยครั้งนี้ผลส่งให้ผู้ป่วยเข้าถึงระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินเพิ่มขึ้น
References
WHO. Definitions of Key Concepts from the WHO Patient Safety Curriculum Guide (2011) [Internet].2011 [cited 2020 Aug 26]. Available from:http://www.who.int/patientsafety/education/curriculum/course1a_handout.pdf
ไชยพร ยุกเซ็น, และยุวเรศมคฐ์ สิทธิชาญบัญชา. เวชศาสตร์ฉุกเฉิน 1. กรุงเทพฯ: ช่อระกาการพิมพ์; 2557
กรองได อุณหสูต. พยาบาลผู้ประสานงานด้านการดูแลผู้บาดเจ็บ (Trauma Nurse Coordinator). เอกสาร ประกอบการบรรยายเรื่อง TNCs: Trauma Care and Outcome. วันที่ 18-19 กุมภาพันธ์ 2559.กรุงเทพฯ: กรมการแพทย์ร่วมกับสาขาวิชาศัลยศาสตร์อุบัติเหตุคณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลและ ราชแพทย์วิทยาลัย ศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย;2559.
กวีศักดิ์ จิตตวัฒนรัตน์. Transition care: The effects of ICU organization on outcomes.ใน : เอกรินทร์ ภูมิพิเชฐ, ไชยรัตน์ เพิ่มพิกุล, บรรณาธิการ. Critical case: at difficult time. กรุงเทพฯ: บ. บียอนด์ เอ็นเทอร์ ไพรช์ จำกัด; 2553. หน้า 13-9.
Considine, J. Botti, M., & Thomas, S. Do knowledge and experience have specific roles in triage decision-making?. AcadEmer Med 2007; 14(8): 722-6.
Lecky, F., Mason, S., Benger, J. et al.Frame work for Quality and Safety in the Emergency Departments. White Rose Research Online: May, 2017.
นันทิยา รัตนสกุล และกฤตยา แดงสุวรรณ. การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะคุกคามชีวิตในงาน อุบัติเหตุและฉุกเฉินโรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชคนรินทร์. 2559 ;8(2):1-15.
ปวีณ นราเมธกุล. “แนวทางการพัฒนาการคัดแยกผู้ป่วยฉุกเฉินของประเทศไทย,” รายงานการศึกษา ส่วนบุคคล หลักสูตรนักบริหารการทูต รุ่นที่ 5. สถาบันการต่างประเทศเทวะวงศ์วโรปการ กระทรวงการต่างประเทศ, 2556.
สุดาพรรณ ธัญจิรา,จุฬารักษ์ กวีวิวิธชัย,อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์. ประสิทธิภาพการจำแนกประเภทผู้ป่วย พยาบาลจำแนกในหน่วยเวชศาสตร์ฉุกเฉิน คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี. รามาธิบดีพยาบาลสาร. 2541;4(2):133-142.
Göransson O, et al. Mechanism of Action of A-769662, a Valuable Tool for Activation of AMP-activated Protein Kinase. J Biol Chem 2007;282:32549–32560.
ยุวเรศ สิทธิชาญบัญชา. เวชศาสตร์ฉุกเฉิน . กรุงเทพฯ : ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล; 2557.
นฤดี เย็นเสนาะ. Khonkaen Emergency Severity Index. ขอนแก่น: กลุ่มงานเวชศาสตร์ฉุกเฉิน และนิติเวชวิทยา โรงพยาบาลขอนแก่น; 2552.
กงทอง ไพศาล. การพัฒนาเครื่องมือจำแนกประเภทผู้ป่วยงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน โรงพยาบาลพล จังหวัดขอนแก่น. รายงานการศึกษาอิสระปริญญาพยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2553.
ศูนย์พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลพล. บัญชีความเสี่ยงโรงพยาบาลพล ปีงบประมาณ 2560-2562. โรงพยาบาลพล; 2558.
Ludwig Von Bertalanffy. Genaral system theory. NeW Yark: Gearge Braziller; 1940.
Kemmis, S. The Action Research Planner. Geelong: Deakin University; 1988.
Frederick, Herzberg et al. The Motivation of work. New York: John Wiley & Sons; 1959.
นภาภรณ์ พรหมจันทร์. การสร้างแบบประเมินสมรรถนะพื้นฐานในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพ กลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลเรณูนคร. รายงานการศึกษาอิสระปริญญา พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชา บริหารการพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2553.
Holzemer,W. Improving Health through Nursing Research. USA: The International Council for Nursses; 2010.
มะลิสา โรจนหิรัณย์. ประสิทธิผลการใช้แนวทางปฏิบัติในการพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บหลายระบบ หน่วยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉินโรงพยาบาลอุดรธานี. วารสารการแพทย์โรงพยาบาลอุดรธานี 2563;28(3): 413-425.
อรวรรณ ฤทธิ์อินทรางกูร, วรวุฒิ ขาวทอง, ปารินันท์ คงสมบรูณ์, สมศรี เขียวอ่อน. การพัฒนาระบบ การคัดแยกผู้ป่วยอุบัติเหตุฉุกเฉิน โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์. วารสารกรมการแพทย์ 2561;43(2): 146-151.
พิมพา วีระคำ, คัคนนันท์ วิริยาภรณ์ประภาส, ศิริพร จักรอ้อม, พิชญุตม์ ภิญโญ. ประสิทธิผลของ การอบรมการคัดแยกผู้ป่วยตามระบบ MOPH ED Triage ต่อความถูกต้องของการคัดแยกผู้ป่วย โดยเจ้าหน้าที่กลุ่มงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลแม่สาย. วารสารกรมการแพทย์ 2562; 44(5):70-74.
สงบ บุญทองโท, นิสากร วิบูลชัย, องุ่น บุตรบ้านเขวา. การพัฒนาระบบบริการช่องทางด่วนผู้ป่วยโรค หลอดเลือดสมองโรงพยาบาลวาปีปทุมและเครือข่ายบริการ. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม 2560; 14(3):100-113.
พนิตนันท์ หนูชัยปลอด, วงจันทร์ เพชรพิเชฐเชียร, หทัยรัตน์ แสงจันทร์. การพัฒนาและประเมินผล แนวปฏิบัติในการจัดการความปวดจากแผลอุบัติเหตุ ณ งานอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน. พยาบาลสาร 2557; 41(ฉบับพิเศษ):88-98.
นันทิยา รัตนสกุล, กฤตยา แดงสุวรรณ. การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะคุกคามชีวิต ในงานอุบัติเหตุและฉุกเฉินโรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์. วารสารนราธิวาสราชนครินทร์ 2559; 8(2):1-15.
พรทิพย์ อัคนิจ, ประมวลรัตน์ พจนา. การพัฒนาระบบบริการช่องทางด่วนสำหรับผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อ หัวใจขาดเลือดเฉียบพลันชนิด STEMI ในงานผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลวาริชภูมิ จังหวัดสกลนคร. วารสารโรงพยาบาลสกลนคร 2561;21(1):99-112.
ธารารัตน์ ส่งสิทธิกุล, อรวรรณ อนามัย. การพัฒนาระบบบริการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบ อุดตันที่รักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือด โรงพยาบาลราชบุรี. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข 2559;26(2):142-153.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด
บทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางสุขภาพ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด ถือเป็น ผลงานวิชาการ งานวิจัย วิเคราะห์ ตลอดจนเป็นความเห็นส่วนตัวของผู้ประพันธ์ กองบรรณาธิการไม่จําเป็นต้องเห็น ด้วยเสมอไป และผู้ประพันธ์จะต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง