ผลการพัฒนารูปแบบปฏิบัติการพยาบาลมารดาหลังคลอดเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่: การวิจัยเชิงปฏิบัติการ

ผู้แต่ง

  • นงลักษณ์ คำสวาสดิ์ วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • วิภาพร ปิตินพคุณ คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • ประไพจิตร โสมภีร์ คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • รุ่งนภา โพธิ์แสน คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก

คำสำคัญ:

รูปแบบปฏิบัติการพยาบาลมารดาหลังคลอด, การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่, การวิจัยเชิงปฏิบัติการ

บทคัดย่อ

พ.ศ. 2566 ประเทศไทยพบการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนแรก ร้อยละ 28.60 วัตถุประสงค์เพื่อรายงานผลการพัฒนารูปแบบปฏิบัติของมารดาหลังคลอดเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่ วิธีการศึกษาเชิงบรรยาย ในโรงพยาบาลประจำจังหวัดหนึ่งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศไทย ผู้ให้ข้อมูล 14 คน ใช้การสัมภาษณ์ สังเกตแบบมีส่วนร่วม จดบันทึกและบันทึกภาพ ข้อมูลใช้วิธีวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) ผลการศึกษาพบว่ารูปแบบปฏิบัติการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ มี 3 ประเด็นหลัก ได้แก่ 1. รูปแบบปฏิบัติเมื่อมารดาทารกนอนเตียงเดียวกัน มีรูปแบบปฏิบัติ 6 ประเด็นย่อย ประกอบด้วย (1) การอุ้มลูก (2) การนำลูกเข้าเต้า (3) การให้ลูกอมหัวมและลานนม (4) การเอา หัวนมออกจากปากลูก (5) การดูแลลูกหลังให้นมแม่ และ (6) การแก้ปัญหาหัวนมของแม่ 2. รูปแบบ ปฏิบัติเมื่อแม่และลูกแยกจากกันในภายหลัง มีรูปแบบปฏิบัติ 2 ประเด็นย่อย ประกอบด้วย (1) การให้แม่ไปเยี่ยมลูก (2) การบีบเก็บน้ำนมเพื่อลูก และ 3. การใช้สมุนไพรเพื่อเพิ่มน้ำนมแม่ หลังคลอด ผลการวิจัยครั้งนี้ประโยชน์ต่อการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ และทีมสุขภาพ ผู้ดูแลมารดาหลังคลอด และเป็นพื้นฐานการทำวิจัยเพิ่มเติมต่อไป นอกจากนั้นใช้เป็นหลักฐาน เพื่อการพัฒนาโปรแกรมรูปแบบปฏิบัติการพยาบาบาลมารดาหลังคลอด

Author Biography

นงลักษณ์ คำสวาสดิ์, วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก

วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม

References

World Health Organization (WHO). Increasing commitment to breastfeeding through funding and improved policies and programmes [Internet]. 2019 [Cited 2024 Sep 8]. Available from: https://apps.who.int/iris/bitstream/handle/10665/326049/ W H O - N M H - N H D - 1 9 . 2 2 - e n g . pdf?sequence=1&isAllowed=y.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. การสำรวจ สถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย พ.ศ.2565 [Internet]. 20232019 [Cit- ed 2024 Sep 8]. Available from: https:/www.unicef.org/thailand/ media/11361/fle/Thailand%20 MICS%202022%20full%20report%20 (Thai).pdf

พัตนี วินิจจะกูลและ อรพร ดำรงวงศ์ศิริ. สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา พุทธมณฑล นครปฐม 2 ภาค วิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดีมหาวิทยาลัย มหิดล วารสารโภชนาการ 2563; 55: 66-81.

ตึกสูติกรรมหลังคลอด โรงพยาบาล มหาสารคาม. สรุปรายงานจำนวนยอด ผู้ป่วยประจำปี 2565.

วาทินี วิภูภิญโญ. ปัจจัยล้มเหลวที่ส่งผล ต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว ในโรงพยาบาลชัยภูมิ. วารสารการแพทย์ โรงพยาบาลศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์ 2563; 35(3):635-42.

Khamsawarde N, Butta S,Aunnat C & Yuthalit W. Breastfeeding problems of postpartum mothers in a hospital during the COVID-19 pandemic in Thailand: A Qualitative Descriptive Study. Journal of Health Research and Development Nakhon RatchasimaPublic Health Provincial Office 2023; 9(2): 191-204.

ศิริพร จิรวัฒน์กุล. การวิจัยเชิงคุณภาพ ทางการพยาบาล: ระเบียบวิธีวิจัยและกรณี ศึกษา 2555. กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์.

Creswell JM. Qualitative inquiry and research design: choosing among five approaches. Thousand Oaks: Sage; 2007.

Lincoln YS, Guba EG. Naturalistic inquiry. Newbury Park CA: Sage; 1985.

ลำพงษ์ ศรีวงศ์ชัย จันทร์เพ็ญ ชินคำ อัจฉรา วลิลุนและสุรีพร ศรีโพธิ์อุ่น. การพัฒนา โปรแกรมการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนม แม่ในมารดาหลังคลอดบุตรคนแรกและ ครอบครัว. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม 2564; 18(3): 99-112.

ทิพวรรณ์ เอี่ยมเจริญ นิธิมา คันธะชุมภู ศิวรรณ วิเลิศและอรพิน กาลสังข์. ผลของ โปรแกรมส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดา ต่อประสิทธิภาพการให้นมมารดา และ อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาเป็นเวลา 6 เดือน ในมารดาหลังคลอดบุตรคนแรก. วารสารการแพทย์และวิทยาศาตสร์สุขภาพ 2563; 27(2): 1-17.

สุรีย์พร กฤษเจริญ ศศิกานต์ กาละ วรางคณา ชัชเวช ศิริไท พฤกษะศรี ชุลีรัตน์ เพชรวัชระไพบูลย์. ผลของการใช้ แนวปฏิบัติทางคลินิกเพื่อส่งเสริมสนับสนุน และคุ้มครองการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ต่อ สมรรถนะ และระยะเวลาการเลี้ยงลูกด้วย นมแม่ในมารดาวัยรุ่น. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ 2564; 41(1): 54-63

นวพร มามาก สุภาวดี นาคสุขุม วันเพ็ญ ถี่ถ้วน อรวรรณ ดวงใจ และวงค์ชญพจณ์ พรหมศิลา. สภาพการณ์เลี้ยงลูกด้วยนม แม่อย่างเดียว 6 เดือน ในมารดาหลังคลอด บุตรคนแรก. วารสารสิ่งแวดล้อมศึกษา การแพทย์และสุขภาพ 2567; 9(2): 391-98.

มาลีวัล เลิศสาครศิริ. การส่งเสริมการเลี้ยง ลูกด้วยนมแม่ในมารดาวัยรุ่นหลังคลอด: บทบาทพยาบาลและครอบครัว. วารสาร การพยาบาลและการศึกษา 2562;12(1): 1-13.

Paritakul P, Ruangrongmorakot K, Laosooksathit W, Suksamarnwong M, & Puapornpong P. The Effect of Ginger on Breast Milk Volume in the Early Postpartum Period: A Randomized, Double-Blind Controlled Trial. Breastfeeding Medicine 2016; 11(7): 361-65.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

24-12-2024