ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากยาเสพติดของนักศึกษาระดับปริญญาตรี: สถาบันการศึกษาเขตพื้นที่ศึกษาจังหวัดอุดรธานี

ผู้แต่ง

  • ธัญทิพย์ คลังชำนาญ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
  • เดือนเพ็ญ บุญมาชู คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
  • ธวัชชัย เขื่อนสมบัติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
  • ธนเมศวร์ แท่นคำ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
  • วรรณา ภาจำปา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

คำสำคัญ:

พฤติกรรมการป้องกันยาเสพติด, นักศึกษาระดับปริญญาตรี, การสนับสนุนทางสังคม, ปัจจัยทำนาย, จังหวัดอุดรธานี

บทคัดย่อ

การใช้ยาเสพติดมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ส่งผลกระทบต่อสุขภาพร่างกายและจิตใจของ เยาวชนการวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการป้องกันยาเสพติดของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์และปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากยา เสพติดของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ในเขตพื้นที่ศึกษาจังหวัดอุดรธานี กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษา ที่กำลังศึกษาในระดับปริญญาตรี ในเขตพื้นที่ศึกษาจังหวัดอดรธานี จำนวน 185 คน ที่ได้จาก การสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม หาคุณภาพเครื่องมือด้วยการตรวจ สอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน ได้ค่า IOC ระหว่าง 0.67-1.00 หาค่าความเชื่อมั่น ของเครื่องมือเท่ากับ 0.95 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย และการวิเคราะห์สมการถดอย พหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการใช้ ยาเสพติดเท่ากับ 7.84 (SD = 1.49) โดยมีคะแนนระดับมาก ร้อยละ 57.80 ทดสอบปัจจัยทำนาย พบว่า ตัวแปรที่สามารถทำนายพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการใช้ยาเสพติด คือ ความคาดหวัง ในความสามารถของตนเองในการป้องกันตนเองจากการติดสารเสพติด (B = 0.188, p < 0.01) และการสนับสนุนทางสังคม (3 = 0.271,p < 0.01)โดยสามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการป้องกัน ตนเองจากการใช้ยาเสพติดของนักศึกษาได้ร้อยละ 13.8 (R = 0.138, p < 0.01) ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่านักศึกษาระดับปริญญาตรีในพื้นที่จังหวัดอุดรธานีมีความรู้และทักษะ ในการป้องกันตนเองจากการใช้ยาเสพติด และการศึกษาในอนาคตควรมีการสัมภาษณ์กลุ่มด้วย

References

United Nations Office on Drugs and Crime. World Drug Report 2022 [Internet]. 2022 [cited 2024 Jun 17]. Available from: https://www.unodc.org/ res/wdr2022/MS/WDR22_Booklet_1. pdf.

มานพ คณะโต, กนิษฐา ไทยกล้า, สาวิตรี อัษณางค์กรชัย, จิตรลดา อารียสันติชัย, ศยามล เจริญรัตน์, พูนรัตน์ ลียติกุล, et al. รายงานผลการสำรวจครัวเรือนเพื่อคาด ประมาณการจำนวนประชากรใช้สารเสพ ติด-2562. กรุงเทพมหานคร; 2562.

World Health Organization. Marketers of electronic cigarettes should halt unproved therapy claims [Internet]. 2019 [cited 2024 Sep 4]. Available from: https://www.who.int/mediacentre/news/releases/2008/pr34/ en/.

ศุภร ชินะเกตุ. ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรม ป้องกันยาเสพติดของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ สังกัดอาชีวะศึกษา จังหวัดราชบุรี; 2553.

วีรพล ชูสันเทียะ, สมเดช พินิจสุนทร. ผลกระทบจากการใช้ยาเสพติดในผู้เข้ารับ การบำบัดรักษาในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ อุดรธานี: กรณีศึกษา. วารสารการพัฒนา สุขภาพชุมชน มหาวิทยาลัยขอนแก่น [Internet]. 2560 [cited 2024 Jun 18]; 5(3):523-33. Available from: https:// chdkkujournal.com/subcontent. php?id=53106.

กนกพร ด้วงคำภา. ประสิทธิผลการดำเนิน งานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดใน โรงเรียนที่เปิดสอนช่วงชั้นที่ 3-4 สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครพนม เขต 1. [วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต]. นครพนม: มหาวิทยาลัยนครพนม; 2553.

ญาณินท์ คุณา, วัลภา สบายยิ่ง. รูปแบบการ แนะแนวเชิงจิตวิทยาเพื่อพัฒนาพฤติกรรม รับผิดชอบและการแก้ปัญหาอย่างสันติวิธี ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ในโรงเรียนอาชีวศึกษา. วารสารศิลปากร ศึกษาศาสตร์วิจัย. 2557; 6(2): 228-43.

พรภัค พานพิศ. ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรม การป้องกันปัญหายาเสพติดของนักศึกษา การศึกษานอกระบบของศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ [วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต]. สมุทรปราการ: มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี; 2552.

นฤมล ศิริวิพฤกษ์, นันทนา เลิศประสบสุข. พฤติกรรมการป้องกันยาเสพติดของ ประชาชนในตำบลตลาดกระทุ่มแบน อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย. 2561; 10(1): 367-78.

Hair JF,Babin BJ, Black WC,Anderson RE. Multivariate data analysis. 7th ed. New Jersey: Pearson Education; 2010.

บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น; 2556.

กาญจนา พิบูลย์, ภรภัทร เฮงอุดมทรัพย์, Callen B, เวธกา กลิ่นวิชิต, พวงทอง อินใจ, คนึงนิจ อุสิมาศ. ปัจจัยที่มีความ สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการ วิจัยแห่งชาติ; 2554.

วราภรณ์ พัฒนเวศน์. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ การไม่มาตรวจตามนัดในผู้ที่เป็นโรคจิตเภท โรงพยาบาลแพร่ [รายงานการวิจัย]. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2551.

Best JW. Research in education. 4th ed. New Delhi: Prentice Hall of India; 1981.

Berdie DR, Anderson JF, Niebuhr MA. Questionnaires: design and use. New Jersey: Scarecrow Press; 1986.16.

พุทธิพร พงศ์นันทกุลกิจ. ปัจจัยที่มีอิทธิพล ต่อพฤติกรรมการป้องกันการใช้ยาเสพติด ในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย. [คณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา]: วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและ จิตเวช; 2561.

มนัสนันท์ ผลานิสงค์. ปัจจัยที่มีความ สัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันยาเสพติด ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สังกัดอาชีวศึกษา จังหวัดกำแพงเพชร. กำแพงเพชร: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด กำแพงเพชร; 2564.

นีรนุช โชติวรางกูล. การประเมินความรู้ ด้านยาเสพติด ทัศนคติต่อการใช้ยาเสพติด และทัศนคติต่อการบำบัดรักษายาเสพติด ในโปรแกรมการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาเสพ ติด โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ จังหวัด นครสวรรค์. วารสารวิชาการแพทย์และ สาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 3. 2565; 19(3): 236-57.

ปิยนุช ศรีพรมทอง, โฆษิต รัตนบุรินทร์, ฤทัยรัตน์ สุวรรณเรืองศรี. ปัจจัยที่ส่งผล ต่อพฤติกรรมการป้องกันยาเสพติดของ นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลศรีวิชัย [รายงานวิจัย]. สงขลา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย; 2559.

Grotberg EH. Resilience for tomorrow [Internet]. 2005 [cited 2024 Aug 22]. Available from: http://resinet.uiuc. edu/library/grotberg2005_resilience- for-tomorrow-brazil.

กานดา สุขมาก, ยุวดี แตรประสิทธิ์. ปัจจัย ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการป้องกันยาเสพ ติดของนักเรียนประถมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนวัดปทุมวนารามในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี. วารสารพยาบาลตำรวจ. 2561; 10(1): 164-72.

เปรมฤดี หงส์สุทธิ. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ พฤติกรรมการป้องกันการติดสารเสพติด ของนักเรียนชายโรงเรียนขยายโอกาส [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา; 2560.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

24-12-2024