ผลของโปรแกรมส่งเสริมความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพัมพันธ์ ในกลุ่มที่ใช้แอปพลิเคขันหาคู่ออนไลน์ ของนักศึกษามหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในจังหวัดบุรีรัมย์
คำสำคัญ:
โปรแกรมการส่งเสริมความรู้, ทัศนคติ, พฤติกรรมการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์, กลุ่มที่ใช้แอปพลิเคชันหาคู่ออนไลน์บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้เป็นวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-Experimental Research) ศึกษาแบบกลุ่มเดียว วัดผลก่อน-หลังการทดลอง (One-Group pretest-posttest Design) วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของ โปรแกรมส่งเสริมความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ซึ่งการวิจัย ครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบทดลองกลุ่มเดียววัดก่อนและหลัง การได้รับโปรแกรมส่งเสริมความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพัมพันธ์ ในกลุ่มที่ใช้แอปพลิเคชันหาคู่ออนไลน์ของ นักศึกษามหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในจังหวัดบุรีรัมย์ สุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงในกลุ่มที่ใช้แอปพลิเคชัน หาคู่ออนไลน์ (Using Applications dating online) จำนวน 76 คน ใช้ระยะเวลาในการดำเนินการ ศึกษา 3 สัปดาห์ ผลการวิจัย พบว่า ภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรม กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนน ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ มากกว่าก่อนการเข้าร่วม โปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< .001) ซึ่งโปรแกรมการศึกษานี้สามารถ นำไปประยุกต์ใช้ เป็นแนวทางให้ความรู้ สร้างทัศนคติในทางบวก และส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคติดต่อทางเพศ สัมพันธ์ ในกลุ่มนักเรียน นักศึกษา ในสถานศึกษาที่มีบริบทใกล้เคียงกันได้
References
พัชราวรรณ จันทร์เพชร และฉัตรลดา ดี พร้อม. ผลของโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรม การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 อำเภอ โพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารพยาบาล ศาสตร์และสุขภาพ. 2564; 4(42): 58-71.
National Health Secu- rity Office. Situations of STDsandAIDSinThailand[Internet] Bangkok: National Health Security Of- fice. 2017.[cite 8 July 2023]. Available from https://www.nhso.go.th/online/
กรมควบคุมโรค. สถานการณ์โรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์ 5 โรคหลักในเยาวชน ประเทศไทย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557- 2561. [อินเทอร์เน็ต] 2561. เข้าถึงเมื่อ 2 สิงหาคม 2566. เข้าถึงได้จาก: htt- ps://ddc. moph.go.th/uploads/pub- lish/10060202005070 53840.pdf
Rattananam S., Sangsuwa C., Nitirat P. & Pisaipan P. The effect of safe-sex promoting program on knowledge and health belief toward sexual transmitted disease and unwanted pregnancy preventionamong female adolescents.The Journal of Prapokklao Hospital Clinic Medical Education Center. 2015; 32(4): 305-22.
ธีระพงษ์ ชูพันธ์. "Love & Sex" กา รนัดและพูดคุยผ่านแอปพลิเคชันหาเพื่อน กรณีศึกษาของวัยรุ่นชาย - หญิง ที่ใช้แอป พลิเคชัน Beetalk. วารสารสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ. 2563; 9(1): 145-60.
รชิดา สิริดลลธี. การใช้แอปพลิเคชันหา ทินเดอร์กับพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ และผลลัพธ์สุขภาพทางเพศเชิงลบ : การ ทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ. วารสาร นิเทศศาสตร์และนวัตกรรมนิด้า. 2564; 8(2): 25-48.
Sangchart B. & Srijakkot J. Knowledge of HIV/ AIDS and attitudes towards sexual health of a university’s nursing students. Journal of Nursing Science & Health. 2015; 38(2): 95-102.
Sreemuang K., Malarat A. & Hunnirun P. Situation, problem and guideline of sex education learning management for developing the Buddhist way to imprint sexual risk prevention behaviors of lower secondary school students. Thammasat Medical Journal. 2016; 16(2): 253-62.
Thampanichawat W. & Olanratmanee B. Sex education for adolescents in school: acase study in BangkokThai. Journal of Nursing Council. 2018); 33(3): 82-98.
Polit, D. F., & Beck, C. T. Nursing research generating and assessing evidence for nursing practice. (9thed.),Philadelphia, PA: Lippincott, Williams &Wilkins; 2012.
Roderick J. A. Little & Donald B. Rubin. Statistical Analysis with Missing Data, Second Edition. John Wiley & Sons, Inc; 2002.
Farouk MS, El-Sayed Ahmed N.M. The effect of providing educational sessions about sexually transmitted diseases on knowledge and attitudes of secondary school students at Zagazig City. Journal of Nursing Education and Practice. 2018; 8(4): 16-27.
Sangchart E. & Duangsong R. The effects of healtheducation program with electronic media (facebook) on skill development for adolescent pregnancy prevention among grade 7 students. Journal of the office of DPC 7 Khon Khaen. 2016; 23(1): 96-104.
Olanratmanee B. & Jungsomjatepaisal W. The effect of comprehensive sex education program on knowledge and skill of condom application to model of 2nd grade high school students. Journal of Nursing Science. 2017; 35(1): 48-60.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความนี้ลงตีพิมพ์ในวารสารศูนย์อนามัยที่ 7 ขอนแก่น ถือเป็นผลงานทางวิชาการหรือวิจัย ผลการวิเคราะห์ตลอดจนข้อเสนอแนะเป็นความเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ไม่ใช่ความเห็นของวารสารศูนย์อนามัยที่ 7 ขอนแก่น หรือกองบรรณาธิการแต่อย่างใด ผู้เขียนต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง