ผลของบริการโค้ชสุขภาพโดยภาคีเครือข่ายต่อความรอบรู้สุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ ในการป้องกันโรคไม่ติดต่อของประชาชนกลุ่มเสี่ยง บ้านปันง้าว อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง
คำสำคัญ:
โค้ชสุขภาพ, ความรอบรู้สุขภาพ, พฤติกรรมสุขภาพ, ระดับน้ำตาลในเลือดบทคัดย่อ
การวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-experimental design) แบบหนึ่งกลุ่มวัดก่อนและหลังการ ทดลอง (One group pretest-posttest design) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของบริการโค้ชสุขภาพ โดยภาคีเครือข่ายต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคไม่ติดต่อ และระดัะดับ น้ำตาลในเลือดของประชาชนกลุ่มเสี่ยง ทำการศึกษาในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่เป็นกลุ่มเสี่ยง โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้านปันง้าว ตำบลห้างฉัตร อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง จำนวน 50 คน จากนั้นทำการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูล ด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมานด้วยสถิถิทิดสอบ Paired Sample T-test กำหนดระดับนัยสำคัญที่ 0.05 ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศหญิงและเพศชายเท่ากัน โดยส่วนใหญ่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ร้อยละ 50.00 สำเร็จการศึกษาในระดับประถมศึกษา ร้อยละ 52.00 และเป็นประชาชน ในชุมชน ร้อยละ 90.00 ภายหลังการดำเนินการศึกษากลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยความรอบรู้ ด้านสุขภาพและคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคไม่ติดต่อสูงกว่าก่อนการดำเนิน การศึกษา และระดับน้ำตาลเฉลี่ยในเลือดต่ำกว่าก่อนการดำเนินการศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 ดังนั้นจึงควรส่งเสริมการนำโปรแกรมบริการโค้ชสุขภาพโดยภาคีเครือข่ายเพื่อนำไปสู่ ผลลัพธ์ทางด้านสุขภาพที่ดีขึ้นแก่ชุมชน
References
กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวง สาธารณสุข. คู่มือการดำเนินงาน NCD Clinic Plus. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข; 2566.
สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย. แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2566. กรุงเทพฯ: บริษัทศรีเมืองการพิมพ์ จำกัด; 2566.
กระทรวงสาธารณสุข. การป่วยด้วยโรค ไม่ติดต่อที่สำคัญ [อินเทอร์เน็ต]. 25666 [ค้น เมื่อ 2 ตุลาคม 2566]. เข้าถึงได้จาก;https:// hdcservice.moph.go.th/hdc/reports/ page.php?cat_id=6a1fdf282fd28180e ed7d1cfe0155e11.
โรงพยาบาลห้างฉัตร. ข้อมูลผู้ป่วยโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2566. ลำปาง:โรงพยาบาล ห้องฉัตร; 2566.
กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง. คู่มือการดำเนิน งานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังโดย ยึดชุมชนเป็นฐาน : ชุมชมชนลดเสี่ยง ลด โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (CBI NCDs). นนทบุรี: สำนักโรคไม่ติดต่อกรมควบคุมโรคกระทรวง สาธารณสุข; 2561.
พินทุสร โพธิ์อุไร. แนวคิดว่าด้วยการเสริม พลังชุมชนเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ. วารสารพัฒนาสังคม 2562;21(2):64-77.
เปรมณัฐชยา บุญยอ, นิรมล สุธาวรรณ, ประภาทิพย์ แสนทวีสุข. ผลของโปรแกรม การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อ ระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพ พฤติกรรม การดูแลตนเอง น้ำตาลสะสม และความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความ ดันโลหิตสูง. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ 2566; 41(4):1-15.
กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. ความรอบรู้ด้าน สุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน เพื่อป้องกันโรคติดเชื้อและโรคไร้เชื้อที่สำคัญ ของประชาชนวัยทำงานในหมู่บ้านปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ [อินเตอร์เน็ต]. 2566 [ค้นเมื่อ 12 กันยายน 2566]. เข้าถึงได้จาก:http:// www.hed.go.th/ linkHed/437.
กชกร สมมัง.ผลของโปรแกรมส่งเสริมความ รอบรู้ด้านสุขภาพในข้าราชการกลุ่มเสี่ยง จังหวัดลพบุรี. โรงพยาบาลสิงห์บุรีเวชสาร 2563;29(2):87-98.
สุภาวดี กลัดทอง, ณรินี แย้มสกุล. ผลของ โปรแกรมสุขศึกษาเพื่อการเสริมสร้างความ รอบรู้ด้านสุขภาพตามหลัก 2 อ. ต่อความ รอบรู้ด้านสุขภาพพฤติกรรมสุขภาพและ ระดับน้ำตาลในเลือดของกลุ่มเสี่ยงโรคเบา หวานชนิดที่ 2. วารสารวิชาการและการ พยาบาลวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีจักรี รัช 2564; 1(2):14-26.
ละอองดาว ศรีวะรมย์, บรรจบ แสนสุข, ส วิณีย์ ทองแก้ว, ประเสริฐ ประสมรักษ์. ผล ของโปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่ม เสี่ยงเบาหวานของอาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้าน อำเภอเมือง จังหวัดยโสธธร. วารสารศูนย์อนามัยที่ 7 ขอนแก่น 2567; 16(1):160-74.
พิมพ์พิชชา ขันตี, วัชรา จันทร์กระจ่าง. ผล ของโปรแกรมสร้างเสริมความรอบรู้ด้าน สุขภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบา หวานและโรคความดันโลหิตสูง จังหวัด นครสวรรค์. วารสารควบคุมโรค 2567; 50(1):111-24.
วิริยภรณ์ สิงห์ทองวรรณ, สุพัตรา ปวนไฝ, สุนทรี สุรินทร์. ความรอบรู้ด้านสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพ 3อ. 2 ส. ในการ ป้องกันโรคหลอดเลือดสมองของอาสาสมัคร สาธารณสุขประจำหมู่บ้านเทศบาลตำบล หางดง อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ 2565;28(1):68-79.
ธัญรัศม์ ภุชงค์ชัย, ณัฐปภัสญ์ นวลสีทอง, กาญจนา สุขบัว. ผลของโปรแกรมการ พัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพในผู้สูงอายุ ตำบลนาฝาย อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัด ชัยภูมิ. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ 2565;7(2):1669-76.
วราภรณ์ ดีน้ำจืด, ภัทร์ธนิตา ศรีแสง. ความรอบรู้ด้านสุขภาพในการดูแลตนเอง ให้มีสุขภาพดีของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพ มหานคร: กรณีศึกษาการสร้างเสริมความ รอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ. วชิร เวชสารและวารสารเวชศาสตร์เขตเมือง 2562;63(1):73-82.
อรวรรณ อยู่สุวรรณ, นภาเพ็ญ จันทขัม มา, มุกดา หนุ่ยศรี. การพัฒนารูปแบบการ ป้องกันโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยความดันโลหิต สูงที่มีภาวะเสี่ยงในชุมชนชนบท ตำบล เดิมบาง อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารวิจัยสุขภาพและการ พยาบาล 2566;39(1):219-29.
ธนสรณ์ ศรีใช้ประวัติ, สรายุทธ นามเมือง, มนัชญา เสรีวิวัฒนา. การพัฒนารูปแบบ การส่งเสริมความรอบรู้ทางสุขภาพและ พฤติกรรมสุขภาพต่อการเกิดโรคหัวใจและ หลอดเลือดของผู้ป่วยเบาหวานและความ ดันโลหิตสูง เครือข่ายบริการสุขภาพ จังหวัด นนทบุรี. วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์ สุขภาพ 2566;17(1):1-13.
รุ่งทอง วัชรนุกูลเกียรติ, วรรณกร ตาบ้านคู่. การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมความรอบรู้ ด้านสุขภาพในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การป้องกันโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่ม เสี่ยงวัยทำงานแบบมีส่วนร่วมของเครือข่าย อำเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น. วารสาร สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น 2567;31(1):108-21.
กรรณิกา อุ่นอ้าย, พนิดา ชัยวัง, พรภิมล กรกกฏกำจร, ดวงใจ ปันเจริญ. ความรอบรู้ ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการป้องกัน โรคโควิด-19 ของผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงต่อ การเกิดภาวะสมองเสื่อมในชุมชนชนบท จังหวัดเชียงราย. พยาบาลสารมหาวิทยาลัย เชียงใหม่ 2565;49(1):200-12.
จันทร์เพ็ญ สืบบุก. ผลของโปรแกรมการ จัดการตนเองต่อพฤติกรรมการควบคุมระดับ น้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้. วารสารวิชาการและการพยาบาล วิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช 2567;4(1): 1-14.
ธัญญลักษณ์ แสนบุดดา, สุดาพร ลือนาม, สุภาวิณี ลาดหนองขุ่น, กำทร ดานา. ผลของ โปรแกรมการจัดการตนเองต่อการควบคุม ระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน ชนิดที่ 2: ช่วงมาตรการผ่อนคลายโควิด-19. วารสารวิชาการสุขภาพและสิ่งแวดล้อม 2566;1(1):1-14.
จตุพร ดีพลงาม. ผลของโปรแกรมการเรียน รู้และติดตามระดับน้ำตาลในเลือดด้วย ตนเองต่อระดับน้ำตาลสะสมในเลือดและ ทักษะการใช้เครื่องตรวจระดับน้ำตาลใน เลือดด้วยตนเองของผู้ป่วยเบาหวานชนิด ที่ 2 โรงพยาบาลทุ่งเขาหลวง. วารสาร วิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางสุขภาพ 2565;3(1):217-28.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความนี้ลงตีพิมพ์ในวารสารศูนย์อนามัยที่ 7 ขอนแก่น ถือเป็นผลงานทางวิชาการหรือวิจัย ผลการวิเคราะห์ตลอดจนข้อเสนอแนะเป็นความเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ไม่ใช่ความเห็นของวารสารศูนย์อนามัยที่ 7 ขอนแก่น หรือกองบรรณาธิการแต่อย่างใด ผู้เขียนต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง