รูปแบบการให้บริการการเลี้ยงลูกด้วผมแม่ต่อมารตาหลังคลลดลอดและครอบครัว : การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ

ผู้แต่ง

  • นงลักษณ์ คำสวาสดิ์ วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก

คำสำคัญ:

รูปแบบการให้บริการการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่, มารดาหลังคลอดและครอบครัว, การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ

บทคัดย่อ

การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนแรกหลังคลอดในประเทศไทยยังต่ำกว่าเกณฑ์ ที่กำหนดไว้ ร้อยละ 50 วัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการให้บริการการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ต่อมารดาหลังคลอดและครอบครัว การทบทวนประกอบด้วย 2 ขั้นตอนคือ ขั้นกระบวนการ และ ผลผลิต โดยใช้เกณฑ์ Joanna Briggs Institute คัดเลือกจากงานวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) งานวิจัยเช็งคณภาพ (Qualitative Research) และบทความวิชาการ(Academic Article) ขั้นกระบวนการใช้ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ "Google" และ "Google Scholar" ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2566 ถึง มีนาคม 2567 คำสำคัญ (key word) คือ "รูปแบบการให้บริการ" "การเลี้ยงลูกด้วย นมแม่" "มารดาหลังคลอดและครอบครัว" ขั้นผลผลิต พบเอกสารเกี่ยวข้อง 16 เรื่อง ตีพิมพ์ระหว่าง พ.ศ. 2557 - 2566 เป็นบทความวิชาการ 5 เรื่อง และงานวิจัย 11 เรื่องแป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ 8 เรื่องและงานวิจัยเชิงปริมาณ 3 เรื่องเป็นภาษาอังกฤษ 1 เรื่อง และภาษาไทย 15 เรื่อง ใช้เกณฑ์ Joanna Briggs Institute (JBI) คัดเลือกตามเกณฑ์การคัดเข้ามีน่าเชื่อถืออยู่ในระดับ 1 จำนวน 1 เรื่อง ระดับ 2 จำนวน 2 เรื่อง ระดับ 3 จำนวน 3 เรื่อง ระดับ 4 จำนวน 5 เรื่องและระดับ 5 จำนวน 5 เรื่อง รูปแบบการให้บริการการเลี้ยงลูกด้วยมแม่ต่อมารดาหลังคลอดและครอบครัว ได้แก่ การจัดให้แม่และลูกอยู่ด้วยกันตลอดเวลา (rooming in) การให้ครอบครัวอยู่ช่วยเหลือตลอดเวลา การใช้แนวความรู้ 10 ด้านและการประยุกต์ใช้บันได 10 ขั้นในระยะหลังคลอด ประเด็นการค้นพบนี้ เป็นความท้าทายสำหรับการทำวิจัยในอนาคต

References

นงลักษณ์ คำสวาสดิ์ สมทรง บุตรตะ ชุติมา อันเนตร์และวารินทร์ โยธาฤทธิ์. สภาพ ปัญหาการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของแม่หลังค ลอดในโรงพยาบาลช่วงโควิดในประเทศไทย: การวิจัยเชิงคุณภาพแบบบรรยาย. วารสาร วิจัยและพัฒนาด้านสุขภาพ สำนักงาน สาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา 2566; 9(2): 191-204.

นพรัตน์ ธาระณะ. การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ:.บริษัทกรีน ไลฟ์ พริ้นติ้ง เฮ้าส์ จำกัด; 2563.

วีณา จีระแพทย์และเกรียงศักดิ์ จีระแพทย์. กลวิธีสู่ความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนม แม่. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ ธรรมดา; 2563.

นงลักษณ์ คำสวาสดิ์และวิไลลักษณ์ เผือก พันธ์. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ สถานการณ์เสมือนจริงสำหรับนักศึกษา พยาบาล: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็น ระบบ. วารสารวิจัยและพัฒนาด้านสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา 2566; 9(1): 5-17.

วรรณไพร แย้มมาและสุพัตรา นุตรักษ์. การ เสริมสร้างพลังอำนาจเพื่อส่งเสริมการรับรู้ ความสามารถของตนเองในการเลี้ยงบุตร ด้วยนมมารดา ของมารดาวัยรุ่น. วารสาร วิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี 2562; 9(2): 208-16.

มาลีวัล เลิศสาครศิริ. การส่งเสริมการเลี้ยง ลูกด้วยนมแม่ในมารดาวัยรุ่นหลังคลอด : บทบาทพยาบาลและครอบครัว. วารสาร การพยาบาลและการศึกษา 2562; 12(1): 1-13.

ณัฏยา อ่อนผิว วาทินี ชุณหปราณและเจน จิรา คัณทักษ์. การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วย นมแม่ในมารดาผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง ที่ทารกป่วย: บทบาทสำคัญของพยาบาล. วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย คริสเตียน 2564; 8(2): 93-109.

ปิยธิดา เฉียบแหลมและชื่นชม ยุสเชน. นม แม่มีประโยชน์หรือโทษ: แนวปฏิบัติการให้ นมแม่ในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของ โรคโควิด-19. วารสารวิทยาลัยพยาบาล พระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี 2564; 4(3): หน้า 1-14.

กรรณิการ์ กันธะรักษา นันทพร แสนศิริ พันธ์และปิยะภรณ์ ประสิทธิ์วัฒนเสรี. การ พัฒนารูปแบบการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วย นมแม่ของอาจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และพยาบาลโรง พยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่. พยาบาล สาร 2557; 41(พิเศษ): 158-68.

นิศาชล เศรษฐไกรกุลและชมพูนุท โตโพธิ์ ไทย. สถานการณ์การให้บริการของพยาบาล นมแม่ในสถานพยาบาลของประเทศไทย. วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 2562; 13(4): 368-82.

จินตนา เกษเมือง. ความสัมพันธ์ระหว่าง แรงสนับสนุนทางสังคม ความพึงพอใจ การ ปฏิบัติและระยะเวลาในการเลี้ยงลูกด้วยนม แม่ของมารดาวัยรุ่น. วารสารวิชาการแพทย์ เขต 11 2557; 8(2): 457-69.

มาลีวัล เลิศสาครศิริ. การส่งเสริมการเลี้ยง ลูกด้วยนมแม่ในมารดาวัยรุ่นหลังคลอด :บทบาทพยาบาลและครอบครัว. วารสาร การพยาบาลและการศึกษา 2562; 12(1): 1-13.

ประวินา ปะตา อมรรัตน์ ประสีระเก. การ จัดการความรู้ เรื่อง การส่งเสริมการเลี้ยง ลูกด้วยนมแม่ในมารดาวัยรุ่นโดยครอบครัว มีส่วนร่วม. วารสารวิชาการสำนักงาน สาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม 2560; 2(3): 146-53.

ชุดาณัฏฐ์ ขุนเพชรและศศิกานต์ กาละ. ประสบการณ์ความตั้งใจในการเลี้ยงลูกด้วย นมแม่ของมารดาวัยรุ่นหลังคลอด. วารสาร มหาวิยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ 2562; 11(2): 1-11.

ดวงพร ผาสุวรรณ. ความสำเร็จของการ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว กรณีศึกษา จังหวัดนครปฐม. วารสารเกื้อการุณย์ 2563; 27(1): 71-84.

อิงหทัย ดาจุติและศศิกานต์ กาละ. ปัจจัย ที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จในการเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนของมารดา ทางานนอกบ้าน. The Southern College Network Journal of Nursing and Public Health. 2021; 9(1), 107-20.

ลำพงษ์ ศรีวงศ์ชัย จันทร์เพ็ญ ชินคำ อัจฉรา วลิลุนและสุรีพร ศรีโพธิ์อุ่น. การพัฒนา โปรแกรมการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนม แม่ในมารดาหลังคลอดบุตรคนแรกและ ครอบครัว. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม 2564; 18(3): 99-112.

สุรีย์พร กฤษเจริญ ศศิกานต์ กาละ วรางคณา ชัชเวช ศิริไท พฤกษะศรีและชุลีรัตน์ เพชร วัชระไพบูลย์. ผลของการใช้แนวปฏิบัติทาง คลินิกเพื่อส่งเสริมสนับสนุนและคุ้มครอง การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ต่อสมรรถนะ และ ระยะเวลาการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในมารดา วัยรุ่น. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ 2564; 41(1): 54-63.

รักศิริ อาวัชนาวงศ์ และทิพย์วรรณ บุณยาภรณ์. ผลของโปรแกรมการส่งเสริม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่โดยครอบครัวมีส่วน ร่วมต่อการรับรู้การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และ แรงสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยมแม่จาก ญาติตามการรับรู้ของมารดาหลังคลอด. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย บูรพา 2563; 28(4): 38-48.

Pattiya Chainakin, Nantaporn Sansiri- phun, Nonglak Chaloumsuk, Jirawan Deeluea. Effectiveness of the breast- feeding self-efficacy and family support enhancement program among first-time postpartum mothers: A randomized controlled trial. Pacific Rim International Journal Nursing Research 2023; 27(2): 694-107.

Nonglak Khamsawarde, Somsong Butta, Chutima Aunnat, and Warin Yuthalit. Breastfeeding Problems of Postpartum Mothers in a Hospital during the COVID-19 Pandemic in Thailand: A Qualitative Descriptive Study. Journal of Health Research and Development, Nakhon Ratchasima Provincial Public Health Office 2023; 9(2): 191-204.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

24-12-2024