ความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมการบริโภคผักและผลไม้กับระดับโคลีนเอสเตอเรสในเลือด ของหญิงวัยเจริญพันธุ์ ตำบลสำราญ อำเาเมื่อเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
คำสำคัญ:
ระดับโคลีนเอสเตอเรสในเลือด, การบริโภคผักและผลไม้, หญิงตั้งครรภ์, หญิงให้นมบุตร, หญิงวัยเจริญพันธุ์บทคัดย่อ
การจัยนี้เป็นแบบชิงพรรมนาภาคตัดขวาง เพื่อศึกษาควมสัมทันทันทว่างหว่างหวามรู้ ทัศษคคิ และพฤติกรรมการบริโภคผักและผลไม้กับระดับโคลีนเอสเตอเรสในเลือดของหญิงวัยเจริญพันธุ์ เนื่องจากเป็นกลุ่มที่มีความเปราะบางและสามารถได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชจากการบริโภค การได้ รับสารกำจัดศัตรูพืชสามารถส่งผลต่อร่างกาย เช่น ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และระบบหัวใจ และหลอดเลือด กลุ่มตัวอย่างเป็นหญิงวัยเจริญพันธุ์ จำนวน 44 คน เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรม และกระดาษทดสอบโคลีนเอสเตอเรส วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้สถิติ Chi-square และ Fisher's exact test กลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 27.18 ปี (5.D.=3.75) จบการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ปวส. และปริญญาตรีหรือสูงกว่า ร้อยละ 25.0 เท่ากัน อาชีพส่วนใหญ่เป็นพนักงาน ลูกจ้าง เอกชน ร้อยละ 34.1 ไม่มีโรคประจำตัว ร้อยละ 97.7 พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความรู้อยู่ในระดับสูง ร้อยละ 68.2 รองลงมา คือ ระดับปานกลาง ร้อยละ 31.8 ส่วนใหญ่ ร้อยละ 81.8 มีทัศนคติอยู่ในระดับสูง รองลงมา คือ ระดับปานกลาง ร้อยละ 18.2 และส่วนใหญ่มีพฤติกรรมอยู่ในระดับมาก ร้อยละ 68.2 รองลงมา คือ ระดับปานกลาง ร้อยละ 29.5 นอกจากนี้ ยังพบว่าความรู้ทัศนคติและพฤติกรรม การบริโภคผักและผลไม้มีแนวโน้มความสัมพันธ์กับระดับโคลีนเอสเตอเรสในเลือด ข้อมูลที่ได้ จากการศึกษาสามารถใช้วางแผนเพื่อป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจากการสัมผัสสารเคมีใน กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ได้
References
ศูนย์ข้อมูลเกษตรแห่งชาติ. การนำเข้าวัตถุอันตรายทางการเกษตร(รายประเภทการใช้) 2563 [Available from: https://shorturl-ddc.moph.go.th/JTcx0
กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. รายงานสถานการณ์การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพสำหรับแรงงานนอกระบบ [Internet]; 2563. Podcast. Available from: https://ddc.moph.go.th/uploads/publish/1139520210507084901.pdf
THAI-PAN. ประชุมวิชาการเพื่อเตือนภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ปี 2563 2563 [Available from: https://thaipan.org/conference2020-document.
รัชฎาภรณ์ จันทสุวรรณ์, อุไร จเรประพาฬ. ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ พฤติกรรมการปฏิบัติตนในการป้องกันสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย และระดับโคลีนเอสเตอเรสในซีรั่มของเกษตรกร ตำบลเขาพระบาท จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. 2019;27(1):68-77.
ศรัญญา พันธุ์คุณ. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อระดับเอ็นไซม์โคลีนเอสเตอเรสในเกษตรกรผู้ปลูกยาสูบ: กรณีศึกษา จังหวัดสุโขทัย: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; 2016.
สมพนธ์ วรรณวิมลรักษ์, ชนิพรรณ บุตรยี่, ชลธิชา วรรณวิมลรักษ์. สถานการณ์การปนเปื้อนของยาฆ่าแมลงในผักและผลไม้ ที่ขายในตลาดไทย. วารสารโภชนาการ. 2022;57(2):1-17.
ทินกร ชื่นชม. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับระดับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสในเลือดของเกษตรกร. วารสารแพทย์เขต 4-5. 2018;37(2):86-97.
ชัยเลิศ กิ่งแก้วเจริญชัย, เจนจิรา ดวงสอนแสง. อันตรายจากยาปราบศัตรูพืช [Available from: https://shorturl-ddc.moph.go.th/Dttry
บุญสิตา สุวรรณกุล, กรองพร องค์ประเสริฐ, รัตนา ทรัพย์บำเรอ. สารออร์กาโนฟอสเฟตและพัฒนาการของทารก. วชิรเวชสารและวารสารเวชศาสตร์เขตเมือง. 2018;62(5):411-22.
Syamila AI, Kusumawardani DA, Nurika G. Pesticide Exposure and Health Problems among Women In Reproductive AGE: A Literature Review 2022 [Available from: https://shorturl-ddc.moph.go.th/QM1uJ
ลีณา สุนทรสุข. การลดสารตกค้างในผักผลไม้ 2562 [Available from: https://shorturl-ddc.moph.go.th/LUiHr
รัชฏากรณ์ ธรรมรัตน์, ปฤษดาพร ผลประสาร รจ. ความรู้และพฤติกรรมการบริโภคผักและผลไม้ปลอดภัยจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและระดับโคลีนเอสเตอเรสในซีรัมของหญิงตั้งครรภ์ อำเภอท่าศาลาจังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารแพทย์นาวี. 2563;47(3):659-61.
Shelter Blog. ทัศนคติ (Attitude) 2552 [Available from: http://phatrsa.blogspot.com/2010/01/attitude.html
Bloom SJ. Taxonomy of education objective. In: book1 h, editor. cognitive domain. New York: David Mckay; 1975.
Best JW. Research in Education. New Jersey: Prentice hall Inc. ; 1977.
ศิริวรรณ ฉันเจริญ, อรพันธ์ อันติมานนท์, โกวิทย์ บุญมีพงศ์. เกษตรกรได้รับอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชได้อย่างไรบ้าง โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด: สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2553 [พิมพ์ครั้งที่ 3]
อรนุช อาจประจญ, เบญจมาภรณ์ อิศรเดช. ความรู้และพฤติกรรมการบริโภคผักปลอดสารพิษของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร [ปริญญามหาบัณฑิต]2558.
รัติยากร ศรีโคตร, วิชาดา จงมีวาสนา. วิธีลดปริมาณสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชตกค้างในผักและผลไม้. วารสารกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์. 2021;63(1):38-50.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความนี้ลงตีพิมพ์ในวารสารศูนย์อนามัยที่ 7 ขอนแก่น ถือเป็นผลงานทางวิชาการหรือวิจัย ผลการวิเคราะห์ตลอดจนข้อเสนอแนะเป็นความเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ไม่ใช่ความเห็นของวารสารศูนย์อนามัยที่ 7 ขอนแก่น หรือกองบรรณาธิการแต่อย่างใด ผู้เขียนต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง