การวิจัยและพัฒนาศักยภาพ อสม. หมอประจำบ้านเพื่อการดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยง โรคความดันโลหิตสูง จังหวัดชัยนาท
คำสำคัญ:
การพัฒนาศักยภาพ, กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง, อสม.หมอประจำบ้านบทคัดย่อ
การวิจัยเชิงปฏิบัติการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนาศักยภาพ อสม.หมอประจำ บ้าน ในการดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงจังหวัดชัยนาท โดยเจาะจงเลือกพื้นที่ และกลุ่มตัวอย่างจาก อสม. หมอประจำบ้าน 30 คน กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง 30 คน และบุคลากรสาธารณสุข 2 คน เก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณด้วยแบบสอบถามความรู้ทักษะของ อสม. หมอประจำบ้าน แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิต สูง วิเคราะห์แจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ paired t-test ระดับ นัยสำคัญที่ .05 และใช้แนวทางการสนทนากลุ่มเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพโดยวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า อสม.หมอประจำบ้านส่วนใหญ่ขาดความรู้ ทักษะ และไม่เชื่อมั่นตนเอง ในการดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง แนวทางการพัฒนาศักยภาพที่พัฒนาขึ้นเป็น โปรแกรมการเรียนรู้จากการปฏิบัติ ประกอบด้วย 1 ชุดเรียนรู้การพัฒนาความรู้ 2) ชุดเรียนรู้ การเพิ่มทักษะ และ 3) ชุดเรียนรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลลัพธ์ภายหลังการพัฒนาศักยภาพ พบว่า กลุ่ม อสม.หมอประจำบ้าน มีระดับค่าเฉลี่ยความรู้และทักษะเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (p<0.05) กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง มีระดับค่าเฉลี่ยพฤติกรรมการป้องกันโรค ความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) และระดับค่าเฉลี่ยความดันโลหิต systolic blood pressure และ diastolic blood pressure ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) กลุ่มบุคลากรสาธารณสุขเกิดการเรียนรู้วิธีการพัฒนาศักยภาพ อสม.หมอประจำบ้าน จากการปฏิบัติสามารถลดภาระงานด้นการดูแลสุขภาพในชุมชนมากขึ้น ซึ่งควรพัฒนาสมรรถนะ บุคลากรสาธารณสุขด้านโปรแกรมการเรียนรู้เพื่อเป็นพี่เลี้ยงแก่ อสม.หมอประจำบ้านอย่างต่อเนื่อง
References
สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. กองยุทธศาสตร์และแผนงาน. แผนปฏิบัติ ราชการระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570) ของสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. นนทบุรี: สำนักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข; 2565.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชัยนาท. รายงานประจำปี 2565 [อินเทอร์เน็ต]. 2566 [เข้าถึงเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2566]. เข้าถึงได้ จาก: http:/www.cnto.moph.go.th/
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. แผนยุทธศาสตร์การ ป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อระดับชาติ 5 ปี (พ.ศ. 2560-2564). กรุงเทพมหานคร: อิโมชั่น อาร์ต; 2560.
ศูนย์พัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์แผน งานควบคุมโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. ข้อเสนอ (ร่าง) แผน ยุทธศาสตร์บูรณาการการป้องกันและ ควบคุมโรคไม่ติดต่อในประเทศไทยที่ตอบ สนองต่อ 9 เป้าหมายโลก ปี พ.ศ. 2560- 2568. นนทบุรี: อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์. 2559.
กรมสนับสนุนบริการสาธารณสุข. กระทรวง สาธารณสุข. แนวทางการดำเนินงาน สุขภาพภาคประชาชน ปีงบประมาณ 2565 [อินเทอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://hss.moph.go.th/HssDepartment/file_reference/20210506935772122.pdf
เสาวลักษณ์ ศรีดาเกษ, จิรพงศ์ วสุวิภา, ยลฤดี ตัณฑสิทธิ์. การเฝ้าระวังโรคความ ดันโลหิตของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำ หมู่บ้าน ตำบลหัวทุ่ง อำเภอพล จังหวัด ขอนแก่น. การประชุมวิชาการการพัฒนา ชนบทที่ยั่งยืน ครั้งที่ 4 ประจำปี 2557: 11- 13 มิถุนายน 2557; มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น: 2557.454-69
ฉลาด ภู่ระหงษ์, มาลี ไชยเสนา, กุลชญา ลอยหา. ศักยภาพการปฏิบัติงานตาม บทบาทหน้าที่ของอาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้าน จังหวัดระยอง. วารสารสันติ ศึกษาปริทรรศน์ มจร 2564;9(1):369-79.
คมสันต์ ธงชัย, สุชาดามณี บุญจรัส. การ ปรับตัวของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำ หมู่บ้านภายใต้บริบทการเปลี่ยนแปลงใน พื้นที่กึ่งเมืองกึ่งชนบท บ้านท่าบ่อ ตำบลแจ ระแม จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารวิจัยเพื่อ การพัฒนาเชิงพื้นที่ 2560;9(3):206-20.
กรรณิกา บัวทะเล, ทิวากรณ์ ราชูธร. ผลของโปรแกรมส่งเสริมความรอบรู้ด้าน สุขภาพสำหรับพนักงานขับรถบรรทุกที่ เป็นกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงในจังหวัด นครราชสีมา. วารสารสำนักงานป้องกัน ควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น 2566;30(2):121- 30.
ระบบคลังข้อมูลด้านการแพทย์และ สุขภาพ (Health Data Center) สำนักงาน สาธารณสุขจังหวัดชัยนาท. ข้อมูลเพื่อตอบสนอง Service Plan สาขาโรคไม่ ติดต่อ (อินเทอร์เน็ต]. 2566 [เข้าถึงเมื่อ 10กุมภาพันธ์ 2566]. เข้าถึงได้จาก: htt- ps://cnt.hdc.moph.go.th/hdc/main/ index.php 11. Lewin K. Action research and minor- ity problems. Journal of Social Issues 1946:2(4):34-46.
ธีรพันธ์ เชิญรัมย์. องค์การแห่งการเรียน รู้:การเรียนรู้จากการปฏิบัติ. วารสารวิจัย วิชาการ 2563;3(1): 185-95.
วิชัย เทียนถาวร. ระบบการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกัน โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงใน ประเทศไทย : นโยบายสู่การปฏิบัติ. พิมพ์ ครั้งที่ 3 (ปรับปรุง). กรุงเทพมหานคระ ชุมนุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจำกัด; 2556.
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวง สาธารณสุข. คู่มือสำหรับเจ้าหน้าที่เพื่อการ ยกระดับ อสม. เป็น อสม.หมอประจำบ้าน. ม.ป.ท.: 2562.
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. หลักสูตรพยาบาล ผู้ประสานงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน (โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง). กรุงเทพมหานคร: ศูนย์สื่อและสิ่งพิมพ์ แก้วเจ้าจอมมหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนันทา; 2560.
เกรียงไกร ธุระพันธ์. เทคนิคการมีส่วนร่วม ในกระบวนการพัฒนาสังคม. [ดุษฎีนิพนธ์]. อุดรธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี; 2560.
อังศินันท์ อินทรกำแหง. รายงานผลการ ประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพการป้องกัน โรค ภายใต้โครงการพัฒนารูปแบบดำเนิน งานอำเภอรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรม ป้องกันโรค โดย สำนักสื่อสารความเสี่ยง และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ กรมควบคุม โรค [อินเทอร์เน็ต]. 2561 [เข้าถึงเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2566]. เข้าถึงได้จาก: http:// bsris.swu.ac.th/upload/283350.pdf
Best, John W. Research in Education. 3rd ed. Englewood Cliffs, New Jersey : Prentice Hall, Inc; 1977.
สมาคมโรคความดันโลหิตสูงแห่ง ประเทศไทย. แนวทางการรักษาโรค ความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป. กรุงเทพมหานคร: ฮั่วนำพริ้นติ้ง; 2555.
วิเชียร เทียนจารุวัฒนา, กิตติพร เนาว์ สุวรรณ, สายสมร วชิระประพันธ์. แนวทาง การพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขประจำ หมู่บ้าน (อสม.) คุณภาพเพื่อสนับสนุนกำลัง คนด้านสาธารณสุขสำหรับระบบสุขภาพ ในอนาคต. วารสารวิชาการสาธารณสุข 2564;30(2):353-66.
ฉัตรทอง จารุพิสิฐไพบูลย์, นฤมล เปรมา สวัสดิ์, อารีย์รัตน์ เปสูงเนิน, นงณภัทร รุ่งเนย, ผุสดี ด่านกุล. แนวทางการพัฒนาศักยภาพ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านใน การป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่ม เสี่ยง. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข 2563:30(3):74-89.
พวงเพชร เฉิดฉันท์พิพัฒน์, ปิยะณัฐ นามชู. การศึกษาปัจจัยที่มีผลกับความสามารถในการปฏิบัติงานของ อสม. หมอ ประจำบ้าน ปีงบประมาณ 2563-2565. วารสารสาธารณสุขมูลฐานภาคเหนือ 2566; 33(2):34-45
วลัยลักษณ์ สิทธิบรรณ์, สุปรีชา แก้วสวัสดิ์. ผลการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อการป้องกัน โรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยงระยะก่อน ความดันโลหิตสูง ตำบลร่อนพิบูลย์ อำเภอ ร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสาร วิชาการสาธารณสุข 2562;28(ฉบับพิเศษ): 116-24.
ศราวุฒิ บุญญะรัง. ผลของโปรแกรมปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมป้องกันโรคความดันโลหิต สูงของกลุ่มเสี่ยง อำเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช; 61.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความนี้ลงตีพิมพ์ในวารสารศูนย์อนามัยที่ 7 ขอนแก่น ถือเป็นผลงานทางวิชาการหรือวิจัย ผลการวิเคราะห์ตลอดจนข้อเสนอแนะเป็นความเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ไม่ใช่ความเห็นของวารสารศูนย์อนามัยที่ 7 ขอนแก่น หรือกองบรรณาธิการแต่อย่างใด ผู้เขียนต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง