ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับการจัดการอาการปวดหลังผ่าตัด ในเมืองเคบูเมน ประเทศอินโดนีเซีย Knowledge, Attitudes, and Nursing Practice Regarding Postoperative Pain Management in Kebumen, Indonesia

ผู้แต่ง

  • Fajar Agung Nugroho
  • บำเพ็ญจิต แสงชาติ

คำสำคัญ:

Nurses’ knowledge and attitudes, pain management practice, postoperative pain.

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเ์ พื่อการอธิบายองคค์ วามรูแ้ ละทัศนคติดา้ นพยาบาลศาสตรใ์ นการปฏิบัติการรักษาความ
เจ็บปวดหลังศัลยกรรมในเขตเมืองเคบูเมน ประเทศอินโดนีเซีย เป็นการวิจัยแบบสำรวจเชิงพรรณนา โดยมีการศึกษากลุ่ม
ประชากรที่เปน็ พยาบาลวิชาชีพในแผนกผูป้ ว่ ยหลังศัลยกรรม 5 โรงพยาบาล ทั้งหมด 65 คน และสามารถเก็บแบบสอบถามได้ทั้งหมด 63 กรณี มีการพัฒนาเครื่องมือการวิจัยโดยผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน ระยะเวลาในการเก็บข้อมูการวิจัยตั้งแต่วันที่ 15ตุลาคม ถึง 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 โดยใช้ SPSS ใน การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรโดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของสเปียร์แมนผลการศึกษาพบว่า องค์ความรู้ของพยาบาลวิชาชีพด้านพยาบาลศาสตร์เกี่ยวกับการปฏิบัติการรักษาความเจ็บปวดหลังศัลยกรรมอยู่ในระดับสูงถึงร้อยละ 42 ในขณะที่ทัศนคติและการปฏิบัติต่อการรักษาประเภทนี้อยู่ที่ระดับปานกลาง ร้อยละ 96.8 และ 66.7 ตามลำดับ องค์ความรู้มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (rs = 0.626, p ‹ 0.01)ถึงแม้ว่า องค์ความรู้ของพยาบาลวิชาชีพจะอยู่ในระดับที่สูง แต่การศึกษาในบางกรณีค้นพบว่า ยังมีความคลาดเคลื่อนต่อการประเมินความเจ็บปวดของผู้ป่วยในเชิงการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมและทางจิตวิทยา ดังนั้น พยาบาลวิชาชีพจึงมีความตอ้ งการเพิ่มพูนองคค์ วามรูแ้ ละทัศนคติดา้ นการพยาบาลในการปฏิบัติการรักษาความเจ็บปวดหลังศัลยกรรมเพื่อที่จะดูแลผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพและความแม่นยำมากขึ้น

Abstract
The objective of this study was to describe nurses’ knowledge and attitudes regarding postoperative pain management in Kebumen, Indonesia. A descriptive survey design was used in this study. The sample consisted of 65 bachelor nurses who were working in the postoperative wards of five hospitals; however, only 63 nurses returned the questionnaires. The instruments used in this study were developed by the researcher and were determined for their reliabilities by five experts. The data were collected from October to November 2015. The Statistical Package for Social Sciences (SPSS) program was used to analyze the data and Spearman’s correlation was used to determine the correlations between variables.
From the results of this study, it was showed that about half of the subjects (49.2%) had a high level of knowledge regarding postoperative pain management. Most of the subjects (96.8% and 66.7%) had a moderate level of attitudes and practice (regarding postoperative pain management at the moderate level and respectively.There was significantly between knowledge with practice (rs = 0.626, p < 0.01). Despite the majority of nurses’ knowledge in high level, but in some statements they showed they were still wrong about patients may sleep in spite of severe pain and pain assessment is based on the patient’s behavior and physiological changes only.Nurses need to update their knowledge, attitude about postoperative pain management in order to accurate and effective when they give nursing care to postoperative patients.

Downloads