การดำรงสมรรถนะตามการรับรู้ของพยาบาลปฏิบัติการในอินโดนีเซีย Perceptions’ of Female Nurses in Indonesia on Factors Contributing to Continue their Competence

ผู้แต่ง

  • Fitri Arofiati
  • ขนิษฐา นันทบุตร

คำสำคัญ:

การดำรงไว้ซึ่งสมรรถนะส่วนบุคคล พยาบาลปฏิบัติการ Continuing competence, female nurses, qualitative study

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ
ศักยภาพของผูป้ ฏิบัติงานพยาบาลตอ้ งมีสมรรถนะในการผสานความรู ้ ทักษะและทัศนคติเพื่อดำรงบทบาทของตนเอง
สมรรถนะเป็นกลไกที่จะสร้างความต่อเนื่องของการเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงได้รับอิทธิพลมาจากหลายปัจจัย รวมทั้งปัจจัยด้านเพศ พยาบาลวิชาชีพโดยส่วนใหญ่ที่ปฏิบัติงานเป็นเพศหญิง จำเป็นต้องทำงานตามวิถีแห่งวิชาชีพ รวมทั้งมีความรับผิดชอบในการดำรงและการพัฒนาสมรรถนะของพยาบาลผ่านโปรแกรมต่าง ๆ ในแต่ละระยะ อย่างไรก็ตาม การดำรงสมรรถนะไม่ใช่เรื่องง่ายสำหรับพยาบาลหญิง เนื่องจากวัฒนธรรมแบบผู้ชายเป็นใหญ่ (Cultural patriarchy) ที่รับมาในอินโดนีเซีย มีการสำรวจการรับรูก้ ารดำรงสมรรถนะของพยาบาลเพศหญิงในอินโดนีเซีย พบวา่ การเพิ่มสมรรถนะสว่ นบุคคลของพยาบาลปฏิบัติการในที่สุดแล้วนั้นเป็นการเพิ่มขีดความสามารถของการดูแลผู้ป่วยของพยาบาลในอินโดนีเซียซึ่งควรได้รับการศึกษายืนยันข้อมูลนี้การวิจัยเชิงคุณภาพนี้ใชแ้ บบสัมภาษณก์ ึ่งโครงสรา้ งเปน็ แนวทางการสนทนากลุม่ 2 กลุม่ ๆ ละ 10 คน และการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลที่เลือกมาแบบลูกโซ่ (Snowball method) โดยคัดเลือกผู้มาร่วมวิจัยจากโรงพยาบาล MuhammadiyahLamongan ประเทศอินโดนีเซีย ทั้งหมดเป็นพยาบาลผู้หญิง 20 คน เก็บข้อมูลจากเดือนกรกฎาคม-ธันวาคม พ.ศ.2558 ใช้การถอดเทปคำสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ข้อมูลถูกจัดหมวดหมู่เป็น 3 ประเด็นหลัก ได้แก่1) การประกอบอาชีพและการแสดงบทบาทแม่ 2) การดำรงไว้ซึ่งการยอมรับในสังคมเชิงลึก 3) การเลือกโปรแกรมชีวิตในอนาคตกับบทบาทครอบครัว ผลการศึกษาไม่เพียงแต่ช่วยให้พยาบาลผู้หญิงเข้าใจถึงความจำเป็นของการดำรงสมรรถนะอยา่ งตอ่ เนื่อง แตยั่งใหข้ อ้ มูลสำหรับผูบ้ ริหารของโรงพยาบาลในการสง่ เสริมใหมี้โปรแกรมเพื่อดำรงสมรรถนะสว่ นบุคคลของพยาบาลผู้หญิงอย่างต่อเนื่องในอนาคต

Abstract
Competence can be recognized as the ability to give an excellent services and meet the need of care based on their competencies, which are the combination of their knowledge, skills, and attitude that can not static attributes.The change is influenced by many factors, including the gender factor. The nursing profession itself is mostly done by female nurses. They are required to work in a professional manner, including to maintain and improve their
competency periodically through continuning competence program. However, it is not easy to woman nurses because of cultural patriarchy which refers to the predominate role of males in social pattern adopted in Indonesia. This study aims to explore the factors contributing to continuing competence perceptions’ of woman nurses in Indonesia. A descriptive qualitative approach was conducted to explore a deep understanding related with the the factors contributing to continuing competence perception’s of female nurses. The data for which were gathered from 20 female nurses from different areas of practice in one hospital in west Java, Indonesia. The measurements included 20 in-depth interviews, two focused group discussions (10 people /group) and participant-observation.
Data were analized using qualitative content analysis.There were three themes emerged as follows: 1) Professional Career vs mothers’ role with two subthemes:professional career and mothers’ role; 2) In-depth recognition by society vs womans’ feeling, comprised three subthemes: as requirement, Improving confidence, and being recognized by society; and 3) selecting prospective program vs family’s roles, derived into two subthemes: based on the need of department and the right person on the right time.The findings of the study provided factors related with the decision of joining continuing competence programs to improve their professional competenc and gave information for managers of hospital to have more internal continuing competence programs for woman nurses.

Downloads