ความต้องการชุดบริการการดูแลระยะยาวของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่อาศัยอยู่ในชุมชน Needs of Long Term Care Service Packages for Frail Older Persons in Community

ผู้แต่ง

  • นัดดา คำนิยม
  • วรรณภา ศรีธัญรัตน์

คำสำคัญ:

ผู้สูงอายุภาวะพึ่งพิง ชุดบริการการดูแลระยะยาว การดูแลที่บ้านและในชุมชน the frail older persons, Long-term care (LTC) service package, home and community care

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ
การวิจัยเชิงคุณภาพนี้ เพื่อวิเคราะหส์ ถานการณค์ วามตอ้ งการชุดบริการการดูแลระยะยาวของผูสู้งอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
ที่อาศัยอยู่ในชุมชนเขตเทศบาลเมืองแห่งหนึ่ง ผู้ให้ข้อมูล รวมทั้งสิ้น 54 คน เป็นผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง 11 คน ผู้ดูแลในครอบครัว 11 คน ภาคีที่เกี่ยวข้อง 32 คน เก็บรวบรวมข้อมูล ด้วยวิธีการสัมภาษณ์ สังเกตแบบมีส่วนร่วม และศึกษาเอกสารวิเคราะห์ข้อมูล ด้วยวิธีการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษา พบว่า บริบทของชุมชนที่ศึกษาเป็นสังคมสูงอายุ มีผู้สูงอายุ1,413 คน (ร้อยละ 11.9) เป็นผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง 25 คน (ร้อยละ 1.8) ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่ศึกษา 11 คน เป็นชาย 7 คนและหญิง 4 คน มีอายุเฉลี่ย 76.4 ปี มีสัดส่วนภาวะพึ่งพาปานกลาง พึ่งพารุนแรง และพึ่งพาทั้งหมด เป็น 3; 6; 2 คน ตามลำดับ ผลการวิเคราะหพ์ บผูสู้งอายุที่มีภาวะพึ่งพิง มีความตอ้ งการชุดบริการดูแลระยะยาวที่บา้ นและในชุมชน ประกอบดว้ ย1) ชุดบริการสนับสนุนผู้ดูแล (ประจำวัน/บางเวลา/บางกิจกรรม) 2) ชุดบริการดูแลสุขภาพที่บ้าน 3) ชุดบริการสนับสนุนยา-เวชภัณฑ์-อุปกรณ์เครื่องช่วยต่างๆ 4) ชุดบริการหรือศูนย์สนับสนุนผู้สูงอายุ/ครอบครัวในชุมชน ปัจจัยเงื่อนไขที่สำคัญคือ 1) ปัจจัยด้านผู้สูงอายุ 2) ด้านผู้ดูแลในครอบครัว 3) ด้านระบบบริการสุขภาพและสังคมในพื้นที่ 3) ด้านศักยภาพของชุมชนและองค์กรปกครองท้องถิ่นและ 4) ด้านนโยบายการดูแลระยะยาวระดับประเทศและระดับท้องถิ่น ผลจากการศึกษานี้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการสังเคราะห์ชุดบริการการดูแลระยะยาวในระยะต่อไป

 

Abstract
This qualitative research aimed to analyze the situation of needs for long-term care (LTC) service packages for community dwelling frail elderly in a municipality areas. There were 54 key informants included 11 frail elderly with 11 family caregivers, and 32 stakeholders. Data were collected by interviews, participant observations,and document analysis. Data were analyzed by content analysis methods. ห showed that studied community was an aging society where there were 1,413 older persons (11.94%) and 25 frail older persons (1.8%).
The 11 studied frail older persons comprised of 7 males and 4 females with the mean ages of 76.4 years. The dependency levels were moderate, severe and total dependency with the ratio of 3: 6: 2 consecutively. The analysis of needs forLTC service packages revealed that the frail older persons needed home and community LTC service packages including: 1) support services for caregivers; 2) home health care (HHC) service; 3) support services
for medication, medical products and devices; and 4) services and/or centers to support for the frail older persons and families. Conditions related to services included 1) the frail older persons; 2) the family caregivers; 3) the potential of community and local authorities; and 4) local and national policies on LTC. The results from this study had been used to further synthesis the LTC service packages for the frail older persons.

Downloads