ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการฝากครรภ์ของวัยรุ่นตั้งครรภ์ครั้งแรกที่อาศัยอยู่ใน พื้นที่ชนบทของประเทศอินโดนีเซีย Selected Factors Related to Antenatal Care Utilization among Primigravida Pregnant Adolescents Living in Rural Area of Indonesia

ผู้แต่ง

  • Windha Widyastuti
  • Pakvilai Srisaeng

คำสำคัญ:

การฝากครรภ์ วัยรุ่นตั้งครรภ์ครั้งแรก ความรู้เกี่ยวกับการตั้งครรภ์ การสนับสนุนทางสังคม เอกสิทธิ์ ปัญหาการเดินทาง พื้นที่ชนบทของประเทศอินโดนีเซีย ANC utilization, pregnant adolescents, knowledge about ANC, social support, women’s autonomy, transportation

บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรบางประการ (ประกอบ
ด้วย การสนับสนุนทางสังคม เอกสิทธิ์ ความรู้เกี่ยวกับการฝากครรภ์ ปัญหาในการเดินทางมาฝากครรภ์) กับการ
ฝากครรภ์ของหญิงวัยรุ่นอินโดนีเซียที่ตั้งครรภ์ครั้งแรก (อายุครรภ์มากกว่า 28 สัปดาห์) จำนวน 85 คน ซึ่งอาศัย
อยูใ่ นอำเภอ Pekalongan ประเทศอินโดนีเซีย เก็บรวบรวมขอ้ มูลระหวา่ งเดือนกันยายนถึงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2558
ที่คลินิกฝากครรภ์ของศูนย์บริการสาธารณสุขปฐมภูมิ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์สองตัวแปรโดยใช้การ
ทดสอบไคสแคว์เพื่อค้นหาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการไปรับบริการฝากครรภ์ผลการวิจัยพบวา่ ในหญิงวัยรุน่ ที่ตั้งครรภค์ รั้งแรกรอ้ ยละ 31.8 มีการฝากครรภไ์ มค่ รบตามเกณฑ ์ ครอบครัวมีอำนาจในการตัดสินใจในการดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ซึ่งมีความสัมพันธ์กับการฝากครรภ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=0.000) เกือบทุกมิติของการสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์กับการฝากครรภ์ ยกเว้นการสนับสนุนการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก (p<0.05) ส่วนใหญ่ไม่มีความรู้เกี่ยวกับการฝากครรภ์ เช่น ตารางการฝากครรภ์ การให้บริการฝากครรภ์ (การคัดกรอง) ความรู้เกี่ยวกับการตั้งครรภ์วัยรุ่น (P=0.000) ในลักษณะที่คล้ายกัน พบว่า ปัญหาการเดินทางมีความสัมพันธ์กับการฝากครรภ์อย่างมีนัยสำคัญ (p=0.001) ดังนั้นจึงควรให้ความสำคัญในการให้ข้อมูลเกี่ยวกับความรู้ในการฝากครรภ์ ส่งเสริมการสนับสนุนทางสังคม และการส่งเสริมการตัดสินใจฝากครรภ์ของหญิงวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ครั้งแรกดีกว่าที่จะให้คำปรึกษาก่อนแต่งงาน

This descriptive correlation study aimed to examine relationships between selected factors,
including social support, autonomy, knowledge concerning Antenatal Care (ANC) and transportation problem, and ANC utilization among 85 primigravida Indonesian married adolecents (>28 weeks of gestation) in Pekalongan district, Indonesia. Data were collecting during September to October, 2015 in ANC clinic, Primary Health Center. The bivariat analysis used Chi Square in order to find out the factors that have a significant association with ANC utilization. The results showed that among 85 participants, still exist significant number (31.8%) who had inadequate ANC utilization. Only familial health care decision
making power which was found to be significantly associated with ANC utilization among samples (p= 0.000). Interestingly, almost all dimensions of social support had a significant association with ANC utilization, except positive interaction support (p< 0.05). Regarding knowledge about ANC (p=0.000),showed majority didn’t know particular knowledge such as schedule, component of services (screening),knowledge about adolescent pregnancy. Similarly, transportation problem also showed a significant association with ANC utilization (p=.011). Effort should focus on information in the particular knowledge of ANC as aresult, and ensure about social support and decision making power that they should have during their pregnancy, better to give in consultation before marriage.

Downloads