การพัฒนารูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง โรงพยาบาลสมุทรปราการ The Development Model of Nursing in Patients with Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis at Samutprakan Hospital

ผู้แต่ง

  • วรลักษณ์ ฉัตรรัตนารักษ์
  • สุนทรี เพิ่มพูลสวัสดิ์
  • ภรกัญ วงษ์สาคร
  • ศิริวรรณ โปษยาอนุวัตร์

คำสำคัญ:

ผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง การวิจัยและพัฒนา CURN Model CAPD patients, Research and development, CURN Model

บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงปฏิบัติการนี้มีวัตถุประสงคเ์ พื่อพัฒนารูปแบบการพยาบาลผูป้ ว่ ยลา้ งไตทางชอ่ งทอ้ ง โดยใช  CURN
Model เป็นกรอบของการพัฒนา ผู้ร่วมวิจัย ประกอบด้วย ผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องที่มีภาวะติดเชื้อทางช่องท้อง
จำนวน 35 ราย พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยอายุกรรมที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานตั้งแต่ 3 ปี
ขึ้นไปที่เคยผา่ นการอบรมการดูแลผูป้ ว่ ยลา้ งไตทางชอ่ งทอ้ งจำนวน 12 ราย ดำเนินการวิจัยตั้งแตวั่นที่ 1 พฤศจิกายน 2558 ถึงวันที่ 30 เมษายน 2559 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แบบวัดการปฏิบัติของพยาบาลในการ ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้อง 2) แบบวัดความพึงพอใจของพยาบาลต่อการใช้รูปแบบที่พัฒนาขึ้น 3) แบบวัดความสามารถในการปฏิบัติการล้างไตทางช่องท้องของผู้ป่วย 4) แบบบันทึกการติดเชื้อในช่องท้อง 5) แบบบันทึกจำนวนวันนอนโรงพยาบาล 6) แบบวัดคุณภาพชีวิตของผูป้ ว่ ย และ 7) แบบวัดความพึงพอใจของผูป้ ว่ ยที่ได้รับการพยาบาลตามรูปแบบที่พัฒนาขึ้น การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา โดยวิเคราะห์ค่าความถี่
ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัย พบว่า รูปแบบที่พัฒนาขึ้นส่งผลให้กระบวนการดูแลผู้ป่วยมีความชัดเจนและเกิดผลลัพธ์ที่ดีกับพยาบาลและผูป้ ว่ ย ไดแ้ ก ่ ดา้ นพยาบาล พบวา่ หลังการพัฒนาพยาบาลมีรูปแบบในการจัดการเพื่อปอ้ งกันการเกิดภาวะติดเชื้อในชอ่ งทอ้ ง จากผลลัพธข์ องการพัฒนารูปแบบในการดูแลผูป้ ว่ ยลา้ งไตทางชอ่ งทอ้ ง และมีการประสานนักโภชนาการในการรว่ มดูแลผูป้ ว่ ยที่มีภาวะโภชนากร โดยจัดทำนวตกรรมมหัศจรรยไ์ ขข่ าว ไดเ้ ลือกเมนูอาหารไข่ขาวที่หลากหลาย ระดับการปฏิบัติงานของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องและความพึงพอใจของพยาบาลในการใชรู้ปแบบการลา้ งไตทางชอ่ งทอ้ ง หลังการพัฒนาสูงกวา่ กอ่ นการพัฒนา สว่ นดา้ นผูป้ ว่ ยพบวา่ ความสามารถในการปฏิบัติการล้างไตทางช่องท้อง ความพึงพอใจของผู้ป่วย หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนา การติดเชื้อในช่องท้องและจำนวนวันนอนโรงพยาบาลหลังการพัฒนาลดลงกว่าก่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยหลังการพัฒนาอยู่ในระดับดี ทำให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมและมีความรู้ในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการติดเชื้อในช่องท้องซํ้า

This action research aimed to develop model of nursing care patients with peritoneal dialysis. The CURN Model was a framework of development. The participants composed of 35 peritoneal dialysis patients with peritonitis, and twelve nurses who had experiences more than three years and have been trained in peritoneal dialysis nursing care. This research was started from 1 November 2015 to 30 April 2016. The research instruments consisted of 1) nursing practice for CAPD patients measurement.2) nurses’ satisfaction to use development model of nursing measurement 3) self-care ability related to CAPD of patients measurement 4) peritonitis record sheet 5) length of stay record sheet 6) quality of life
of patients measurement 7) patients’ satisfaction receiving development model of nursing measurement The result of study revealed that model development of nursing effected on the clealy process of CAPD nursing and the good outcomes on nurses and patients. Nurses dimension, nursing practice for CAPD patients and nurses’ satisfaction to use development model of nursing after development were higher than before development. Patients dimension, self-care ability related to CAPD of patients and patients’ satisfaction receiving development model of nursing after development were higher than before development. Outcomes of CAPD nursing model development were nurses had development model for
peritonitis prevention management and had cooperation with nutritionist for malnutrition patients by miraculous albumen innovation which CAPD patients could select various menu from albumen. Peritonitis and length of stay after development were decreased more than before development and quality of life of patients after development were in good level. Patients participated in self-care and had self-care knowledge to prevent re-peritonitis.

Downloads