คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่ทำงานในบริบทสังคมวัฒนธรรมอีสาน Quality of Life of Elderly People Who Work in Northeast Socio-Cultural Context

ผู้แต่ง

  • จิตภินันท์ ศรีจักรโคตร
  • มะลิวรรณ ศิลารัตน์
  • เจียมจิต แสงสุวรรณ
  • สุวรรณา บุญยะลีพรรณ
  • ประสบสุข ศรีแสนปาง

คำสำคัญ:

คุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุที่ทำงาน และบริบทสังคมวัฒนธรรม Quality of life, elderly people who work, Northeast socio-cultural context

บทคัดย่อ

งานวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงคเ์ พื่อ ศึกษาคุณภาพชีวิตผูสู้งอายุที่ทำงานในบริบทสังคมวัฒนธรรมอีสาน
ทำการศึกษาในผู้สูงอายุในเขตเมือง และกึ่งเมืองกึ่งชนบทในเขตจังหวัดขอนแก่น จำนวน 30 คน เก็บข้อมูล โดย
การสังเกต การสัมภาษณ์เชิงลึก และการบันทึกภาคสนาม นอกจากนี้จะมีการบันทึกภาพ และบันทึกเทป เพื่อนำ
ไปสู่การถอดเทป และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา โดยการนำข้อมูลจากการถอดเทปคำต่อคำ นำมาหา
ดัชนี สร้างเป็นประเด็น และข้อสรุปผลการศึกษาพบวา่ คุณภาพชีวิตของผูสู้งอายุในมุมมองของผูสู้งอายุมี 4 มิติคือ 1) “มีแฮง” หรือสุขภาพกายแข็งแรง 2) “มีอยู่มีกิน” หรือพอมีพอกิน 3) “ซำบายใจ” หรือมีความสุขใจ และ 4) ”ทุกข์หลาย” ในมุมมองของการมีคุณภาพที่ดีของผูสู้งอายุในบริบทสังคมวัฒนธรรมอีสาน ผูสู้งอายุมองวา่ 1) “มีแฮง” คุณภาพชีวิตที่ดีตอ้ งมีรา่ งกายที่แข็งแรง มีแรงที่สามารถทำงานหาเงินได้ หรือทำกิจวัตรประจำวันด้วยตนเองได้ ไม่ต้องพึ่งพาใคร การทำงานได้ด้วยตนเองทำให้ผู้สูงอายุเกิดความภาคภูมิใจ สามารถไปไหนมาไหนได้ด้วยตนเอง ทำกิจกรรมต่างๆ ได้ 2) “มีอยู่มีกิน” คุณภาพชีวิตที่ดียังหมายถึงการมีอยูมี่กิน หรือมีเงินทองเพียงพอที่จะจับจา่ ยใชส้ อยหรือยังชีพ นอกจากการมีสุขภาพที่แข็งแรงแล้ว การสามารถทำงานหาเงินได้ด้วยตนเอง มีเงินเพียงพอที่จะซื้ออาหาร หรือข้าวของเครื่องใชที้่จำเปน็ ในยามที่ตอ้ งการ ก็เปน็ ความหมายหนึ่งของการมีคุณภาพชีวิตที่ดีของผูสู้งอายุ 3) “ซำบายใจ” หรือความสุขใจ เปน็ อีกหนึ่งมิติของคุณภาพชีวิตของผูสู้งอายุ ความสุขใจของผูสู้งอายุอยูที่การไดท้ ำงานหาเงิน การไดท้ ำบุญการมีลูกหลานดูแลพูดคุยด้วย การมีลูกหลานที่ดีมีการงานทำ การได้ทำกิจกรรมในสังคม รวมถึงการได้ดูแลลูกหลาน ก็ทำใหผู้สู้งอายุสุขใจ ถือเปน็ มิติหนึ่งของการมีคุณภาพชีวิตของผูสู้งอายุ และมิติที่ 4) ”ทุกขห์ ลาย” หรือความทุกข์ ซึ่งความทุกข์เชื่อมโยงกับการเจ็บป่วย อ่อนแรง ไม่มีเงิน ไม่สามารถทำกิจกรรมหรือกิจวัตรได้ด้วยตนเอง การอยู่คนเดียว ไม่มีลูกหลานคอยดูแล ไม่มีเงินใช้จ่าย ก็ทำให้ผู้สูงอายุมีความทุกข์การส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุจึงควรส่งเสริมการคิดเชิงบวก สนับสนุนให้ผู้สูงอายุพึ่งพาตนเอง และในขณะเดียวกันควรสร้างเสริมสัมพันธภาพในครอบครัวและชุมชน จะช่วยให้ผู้สูงอายุพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างสมบูรณ์

The purpose of this qualitative research was to describe the meaning related to quality of life in working elderly beyond the age of 60 in the Khon Kaen province of Thailand. Urban and rural areas in Khon Kaen were selected. Through purposive sampling 30 older people were included into the study. The data was obtained between April to August 2012 through observation, in-depth interview and fieldnote. The data were analyzed using content analysis. he results found as follow: The meanings of quality of life in the elderly’s perspective was determined by their individual beliefs and experiences. The elderly described quality of life in four dimensions as healthy, wealthy, happy, and suffering. In the dimension “healthy”, the elderly viewed themselves as those community members who can do everything by themselves. For the dimension “wealthy”, means they can work for money by themselves, have money to buy food and essentially things,and receive money from their children. For the “happy” dimension, being emotionally stable, being able to make regular merit offerings, participating in social activities, and having children that take care of them were the most significant indicators. The dimension of “Suffering” of quality of life included being ill, weak,poor, in a bad emotional state, and living alone.Enhancing the quality of life of elderly people should promote positive ways of thinking, support
their wish for independence. At the same time community members and community nurses should promote healthy family relationships and engagement in the community to help seniors improve their quality of life completely.

Downloads