การชะลอการเสื่อมของไตในผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไต ในชุมชน ตำบลพระกลางทุ่ง อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม Delay of Renal Funtion Deterioationtion in Diabetic Nephropathy Patients in Praklangung Subdistrict’s Community, That Panom District, Nakhon

ผู้แต่ง

  • ชิณกรณ์ แดนกาไสย
  • เพชรไสว ลิ้มตระกูล

คำสำคัญ:

การชะลอการเสื่อมของไตจากโรคเบาหวาน โรคเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไต delay of renal function deterioration, diabetic nephropathy

บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงปฏิบัติการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาวิธีการดูแลเพื่อชะลอการเสื่อมของไตในผูป้ ว่ ยโรคเบาหวาน
ที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไต เพื่อเป็นแนวทางในการให้บริการของเจ้าหน้าที่รพ.สต.ที่ตอบสนองต่อความต้องการของ
ผู้ป่วย ประยุกต์ใช้ทฤษฎีความสามารถของตนเองเป็นกรอบในการศึกษา ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย 1) ผู้ป่วยโรค
เบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไตระดับที่ 2-3 จำนวน 16 คน 2) ผู้ดูแลจำนวน 6 คน 3) อสม. จำนวน 11 คน
4) ผูน้ ำในชุมชนจำนวน 2 คน และเจา้ หนา้ ที่จาก รพ.สต. จำนวน 2 คน วิเคราะหข์ อ้ มูลคุณภาพโดยใชก้ ารวิเคราะห์เชิงเนื้อหา วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและการทดสอบวิลคอกซันผลการศึกษา พบวา่ ผูป้ ว่ ยรอ้ ยละ 93.8 ไมท่ ราบวา่ ตนมีภาวะแทรกซอ้ นทางไตจากโรคเบาหวาน ผูป้ ว่ ยไมมี่ความเขา้ ใจเกี่ยวกับโรค การดูแลตนเองเพื่อชะลอการเสื่อมของไตและมีพฤติกรรมดูแลตนเองที่ไมเ่ หมาะสม ผูดู้แลและอาสาสมัครสาธารณสุขไม่มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วย ผู้นำชุมชนไม่ทราบสถานการณ์ปัญหาของผู้ป่วยในชุมชน และระบบบริการสุขภาพไม่มีแนวทางในการให้บริการกับผู้ป่วยที่ชัดเจนและขาดการติดตามผลการตรวจประเมินการทำงานของไต จากสภาพปญั หาไดมี้การระดมสมองจากผูที้่มีสว่ นเกี่ยวขอ้ งเพื่อรว่ มวางแผนและดำเนินการดังนี้ 1) อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อใหค้ วามรูแ้ ละสง่ เสริมความมั่นใจในการดูแลตนเองแกผู่ป้ ว่ ย 2) พัฒนาศักยภาพแกนนำ อสม. 3) ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโดยเจ้าหน้าที่ รพ.สต. และ อสม. 4) จัดทำทะเบียนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีภาวะแทรกซอ้ นทางไตและแผนการดูแลผูป้ ว่ ยเปน็ รายบุคคล และ 5) จัดทำแผนการดูแลผูป้ ว่ ยตอ่ เนื่องในชุมชนภายหลังการดำเนินงานตามแผนงานเป็นเวลา 10 สัปดาห์ มีผลการดำเนินงานดังนี้ 1) ผู้ป่วยมีความมั่นใจในการดูแลตนเองเพื่อชะลอการเสื่อมของไตเพิ่มขึ้นอย่างแตกต่างกันทางสถิติ (p = 0.011) และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อชะลอการเสื่อมของไต 2) ผู้ป่วยมีอัตราการกรองของไตเพิ่มขึ้นจำนวน 11 คน มีอัตราการกรองของไตคงที่ 2 คน และมีอัตราการกรองของไตลดลง 3 คน 3) ผู้ป่วยมีระดับนํ้าตาลในเลือดลดลงจำนวน 11 คน มีระดับน้ำตาลในเลือดเพิ่มขึ้นจำนวน 5 คน 4) เจา้ หนา้ ที่รพ.สต.มีแนวทางในการใหบ้ ริการกับผูป้ ว่ ยโรคเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนทางไตในชุมชน

This action research aimed to studying the problems and the development of care to delay of renal function deterioration in the diabetic nephropathy patients living in Praklantung sub-district, That Panom district, NakhongPanom province. Self-efficacy theory was employed as the conceptual framework of the study. The target group consisted of 16 patients with stage 2-3 diabetic nephropathy, 6 caregivers, 11 public health volunteers, 2 community leaders and 2 health officers from Health Promoting Hospital. The qualitative data were analyzed using content analysis, and the quantitative data were analyzed using descriptive statistics and Wilcoxon test.The results showed that 93.8 percent of the patients did not recognize that they had diabetic nephropathy. Also, all of them did not have knowledge about self-care to delay of renal function deterioration, and their self-care behaviors were inappropriate. The family care givers and the village health volunteers did not have knowledge about the patient care. The community leaders did not know the
problems of the patients in the community. The healthcare service system did not have clear approaches for patient care and did not provide renal function monitoring. Therefore, those who were involved in these problems had brainstormed in order to plan for the activities for the development the care for the diabetic nephropathy patients in the community. The activities were as follows: 1) the workshops to educate and to promote confidence on self-care for the diabetic nephropathy patients, 2) the activities to empower the abilities for the public health volunteers, 3) the home visit activity for the
patients and the caregivers by health officers from Health Promoting Hospital and public health volunteers,4) the registration of the diabetic nephropathy patients and the individual patient care plan and 5) the activities of continuing care plan for the diabetic nephropathy patients in the community. After the plan had been implemented for 10 weeks, the results were as follows. 1) The patients had more confidence in self-care todelay of renal function deterioration with statistical difference (p = 0.011), and they also had more appropriate health behaviors. 2) The glomerular filtration rate of 11 patients increased while 2 of
them had constant glomerular filtration rate, and those of 3 of them decreased. 3) The blood glucose level of 11 patients decreased while those of 5 of them increased. 4) the guidelines for continuing diabetic nephropathy patients care in the communitywas obtained

Downloads