ระบบการดูแลสุขภาพชุมชนสำหรับผู้ป่วยระยะท้ายในบริบทอีสาน Community Care System for Terminally Ill Patients in Esaan Context

ผู้แต่ง

  • อาริยา สอนบุญ
  • ขนิษฐา นันทบุตร

คำสำคัญ:

ระบบการดูแลสุขภาพ ผู้ป่วยระยะท้าย ชุมชน healthcare system, terminally ill patients, community

บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงชาติพันธุว์ รรณนา เพื่อศึกษาระบบการดูแลสุขภาพชุมชนสำหรับผูป้ ว่ ยระยะทา้ ยในบริบทอีสาน
เก็บขอ้ มูลจากผูป้ ว่ ยระยะทา้ ย 20 ราย ผูดู้แลและผูที้่เกี่ยวขอ้ งรวม 64 คน วิเคราะหข์ อ้ มูลเชิงเนื้อหาและสังเคราะห์
ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ การศึกษาประกอบด้วยการศึกษาบริบทชุมชน การวิเคราะห์ข้อมูลและการสังเคราะห์ข้อมูล
การศึกษาบริบทชุมชนพบว่า มีมุมมองของการเป็นผู้ป่วยระยะท้ายในชุมชน เกี่ยวข้องกับปัจจัยและเงื่อนไขสังคม
วัฒนธรรมและวิถีการดำรงชีวิตที่อธิบายความหมายการเจ็บป่วยของผู้ป่วยระยะท้ายในชุมชนเองเป็น 3 ลักษณะ
ดังนี้ ป่วยหนักไม่รักษาแล้ว ป่วยหนักแต่ยังต้องเข้าๆออกโรงพยาบาล หรือนอนรอหมดบุญ ซึ่งเป็นความหมายที่
สะท้อนมาจากวิถีการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยระยะท้ายในชุมชน 4 วิถี ได้แก่ อยู่กับลูกหลาน อยู่กับญาติ อยู่กับคู่
สามีภรรยาและอยู่คนเดียว ซึ่งทั้ง 4 วิถีมีความเกี่ยวเนื่องกับผู้ดูแลที่ต่างกัน สะท้อนภาพของการดูแลผู้ป่วยระยะ
ท้ายว่ายังเป็นความรับผิดชอบของครอบครัวและชุมชนที่ต้องดูแลช่วยเหลือกันเอง ผลจากการวิเคราะห์การดูแล
พบว่า มีเงื่อนไขในการจัดการ 6 ประเด็น คือ การมีคนดูแล ภาวะสุขภาพ ความสัมพันธ์กับชุมชน สวัสดิการ การ
เข้าถึงสิทธิประโยชน์และที่อยู่อาศัย ทั้งหมดเป็นปัจจัยแวดล้อมสำคัญที่มีผลต่อวิถีการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยระยะ
ท้ายในชุมชน ผลสรุปสุดท้ายที่ได้จากงานวิจัย คือ การสร้างข้อเสนอในการจัดระบบการดูแลสุขภาพชุมชนสำหรับ
ผูป้ ว่ ยระยะทา้ ยในชุมชนสำหรับหนว่ ยงานสถานบริการสุขภาพรว่ มกับการสรา้ งสิ่งแวดลอ้ มที่เอื้อตอ่ การดูแลผูป้ ว่ ย
ระยะท้ายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ขอ้ สรุปการศึกษานี้สะทอ้ นชอ่ งวา่ งระบบการดูแลสุขภาพชุมชนสำหรับผูป้ ว่ ยระยะทา้ ยภายใตพื้นฐานปญั หา
และความต้องการของผู้ป่วยและครอบครัวในชุมชนที่นำสู่การรื้อสร้าง การจัดระบบการดูแลสุขภาพผู้ป่วยระยะ
ท้ายให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงบริบทสังคม ด้วยการพัฒนาวิธีคิด วิธีการทำงาน พัฒนาเครื่องมือ และสมรรถนะ
เชิงวิชาชีพใหมี้ความไวเชิงวัฒนธรรม เพื่อเปน็ แนวทางจัดการเชิงนโยบายในแตล่ ะพื้นที่ และแนวทางสรา้ งนโยบาย
ที่เอื้อต่อการดูแลสุขภาพผู้ป่วยระยะท้ายในชุมชนต่อไป

Downloads