การรับรู้สุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพของผู้ใช้บริการกลุ่มเสี่ยง โรคความดันโลหิตสูง Health Perceptions and Health Behaviors of Pre-Hypertension Client

ผู้แต่ง

  • ดวงใจ เปลี่ยนบำรุง

คำสำคัญ:

การรับรู้สุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ ผู้ใช้บริการกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง health perception, health behaviors, pre-hypertension Client

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้เปน็ การวิจัยเชิงบรรยาย เพื่อศึกษาการรับรูสุ้ขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของผูใ้ ชบ้ ริการกลุม่ เสี่ยง
โรคความดันโลหิตสูง กลุม่ ตัวอยา่ งเปน็ ผูใ้ ชบ้ ริการกลุม่ เสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 240 คน เลือกกลุม่ ตัวอยา่ ง
โดยวิธีการสุม่ อยา่ งงา่ ย เก็บรวบรวมขอ้ มูลดว้ ยแบบสอบถามการรับรูสุ้ขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ มาตรประมาณคา่
4 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์
สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัย พบว่า
1. กลุม่ ตัวอยา่ งมีการรับรูเ้ กี่ยวโรคความดันโลหิตสูงโดยรวมและรายดา้ นในระดับดีทุกดา้ น คา่ เฉลี่ย 3.47-
3.91 ยกเวน้ ดา้ นการรับรูอุ้ปสรรคในการปอ้ งกันโรคอยูใ่ นระดับปานกลาง คา่ เฉลี่ย 2.62 และระดับพฤติกรรมสุขภาพ
รายดา้ นและโดยรวมอยูใ่ นระดับดีทุกดา้ น คา่ เฉลี่ย 3.45-3.86 ยกเวน้ พฤติกรรมสุขภาพดา้ นการรับประทานอาหาร
อยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 2.57 2. การรับรู้สุขภาพด้านการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมสุขภาพ ด้านการควบคุมนํ้าหนัก การจัดการกับความเครียด และพฤติกรรมสุขภาพโดยรวมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01, .001, และ .001 (r =.18., .21, และ .23 ตามลำดับ) การรับรู้สุขภาพด้านการรับรู้ความรุนแรงของโรค และการรับรูป้ ระโยชนข์ องการปอ้ งกันมีความสัมพันธท์ างบวกกับพฤติกรรมสุขภาพดา้ นการทำกิจกรรมและออกกำลังกาย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (r =.28, และ .21 ตามลำดับ) การรับรู้สุขภาพด้านการรับรู้อุปสรรคในการป้องกันโรคมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมสุขภาพในด้านการทำกิจกรรมและการออกกำลังกาย การจัดการความเครียด และพฤติกรรมสุขภาพโดยรวม และมีความสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมสุขภาพด้านการควบคุมนํ้าหนักอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ .001 (r =.52, .35,.37, และ.02 ตามลำดับ) ดังนั้นทีมสุขภาพจึงควรมีการจัดกิจกรรมการรักษาพยาบาลเชิงรุกเน้นการป้องกัน เฝ้าระวังการเกิดโรค ประเมินระดับความรู้ความเข้าใจของผูใ้ ชบ้ ริการตอ่ การเกิดโรค และติดตามประเมินระดับความสามารถในการดูแลตนเอง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูใ้ ชบ้ ริการอยา่ งตอ่ เนื่อง เพื่อชว่ ยใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ขอ้ เสนอแนะสำหรับการทำวิจัยครั้งต่อไปควรมีการศึกษาปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพ ศึกษาพฤติกรรมสุขภาพของผู้ใช้บริการกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงแต่ละด้านในเชิงคุณภาพ หรือศึกษารูปแบบการให้บริการของสถานบริการ
สุขภาพต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ใช้บริการกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง

Downloads