ประสิทธิผลของการ์ตูนแอนนิเมชันในแทปเล็ตต่อความวิตกกังวลและ ความร่วมมือในระหว่างนำสลบของผู้ป่วยเด็ก Effectiveness of Cartoon Animation via Tablet as a Distraction Technique on Anxiety and Co-operation of Preschool Children during Induction of Anesthesia

ผู้แต่ง

  • ศรินรา ทองมี
  • ทัศนีย์ บุญวานิตย์

คำสำคัญ:

การ์ตูนแอนนิเมชัน แท็บเล็ต เทคนิคการเบี่ยงเบนความสนใจ ความวิตกกังวลในเด็ก, การนำสลบanimated cartoon, tablet, distraction technique, anxiety in children, anesthetic induction

บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการ์ตูนแอนนิเมชันในแท็บเล็ตต่อความวิตกกังวล
ของผูป้ ว่ ยเด็กขณะนำสลบ กลุม่ ตัวอยา่ งเปน็ ผูป้ ว่ ยเด็กกอ่ นวัยเรียนอายุระหวา่ ง 3-6 ป ี ที่เขา้ รับการใหย้ าระงับความรู้สึกเพื่อผ่าตัด ในโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 80 คน ทำการคัดเลือกตามเกณฑ์
สุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 40 คน กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ ส่วนกลุ่มทดลองได้รับ
การคลายความวิตกกังวลด้วยเทคนิคการดึงดูดความสนใจด้วยการให้ดูการ์ตูนแอนิเมชันในแท็บเล็ต ขณะอยู่ใน
ห้องรอผ่าตัดและขณะนำสลบ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลทั่วไป แบบวัด
พฤติกรรมความวิตกกังวลในเด็ก และแบบวัดความร่วมมือของเด็กขณะนำสลบ วิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย
โดยใช้สถิติที

The purpose of this experimental research was to determine the effectiveness of cartoon animation via tablet on anxiety and co-operation of preschool children during induction of anesthesia. The purposive sample consisted of 80 patients age between 3 and 6 years undergoing elective surgery that had been admitted to the pediatric surgery ward at Sunpasitthiprasong Hospital Ubon Ratchthani. The participants were equally randomized into the experimental and the control group. The control group received routine
nursing care and the subjects in the experimental group received distraction technique by using animated cartoons via tablets while patients were waiting in the waiting room and during induction of anesthesia. The instrument of this study comprised 3 parts 1) the demographic data form 2) The modified Yale Preoperative Anxiety Scale was used to access the children’s anxiety 3) the Cooperation of child scale was used to access the children’s cooperation. Data were analyzed using description, Fisher’s Exact Test,Chi-square test. The changed anxiety score between thecontrol and experimental group using the Mann-
Whitney U test.

Downloads