ผลของโปรแกรมการส่งเสริมความรู้แก่พยาบาลพี่เลี้ยงในแหล่งฝึกของ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี ต่อความรู้ในการจัดการ ความปวด และทัศนคติในการจัดการความปวดโดยไม่ใช้ยา The Effects of Education Program on Knowledge for Pain Management and Attitude for
คำสำคัญ:
โปรแกรมการส่งเสริมความรู้ การจัดการความปวด ทัศนคติในการจัดการความปวดโดยไม่ใช้ยาeducation program, pain management, attitude, non-pharmacological interventionsบทคัดย่อ
การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค ์ เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการสง่ เสริมความรูแ้ กพ่ ยาบาลพี่เลี้ยงในแหลง่ ฝกึ
ของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี ต่อความรู้ในการจัดการความปวด และทัศนคติในการจัดการ
ความปวดโดยไม่ใช้ยา เป็นการศึกษาแบบก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลพี่เลี้ยงในแหล่งฝึก
ของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี โดยการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง แผนกละ 1 คน จำนวน 61
คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วย 1) โปรแกรมการส่งเสริมความรู้ในการจัดการความปวด และเอกสาร
ประกอบการบรรยายเกี่ยวกับการจัดการความปวด 2) แบบสอบถามความรู้ของพยาบาลในการจัดการความปวด
และ 3) แบบสอบถามทัศนคติของพยาบาลในการจัดการความปวดโดยไม่ใช้ยา โดยมีการนำเครื่องมือไปตรวจสอบ
ความตรงตามเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่าน และหาความเที่ยงของแบบสอบถามโดยการคำนวณหาค่า
สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามความรู้ของพยาบาลในการจัดการความปวด
เท่ากับ 0.79 และแบบสอบถามทัศนคติของพยาบาลในการจัดการความปวดโดยไม่ใช้ยา เท่ากับ 0.87 วิเคราะห์
ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวแบบวัดซํ้า และสถิติทีคู่
This quasi-experimental study aimed to test the effects of education program on knowledge for pain management and attitude for non-pharmacological interventions among the nurse mentors worked in Boromarajonai College of Nursing, Suratthani. A one group pretest - posttest control group design was conducted purposive sampling with 61 nurse mentors. The instruments for giving intervention consisted of; 1) the education program and the handbook for the nurse mentors, 2) the knowledge for pain management questionnaire, and 3) the non-pharmacological interventions Attitude Questionnaire. The reliability of the
Knowledge for Pain Management Questionnaire and the Non-pharmacological Interventions Attitude Questionnaire was examined by using Cronbach’s alpha coefficient, yielding values of 0.79 and 0.87, respectively. Data were analyzed by using both descriptive statistics one - way repeated measures ANOVA and paired t-test.