ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมสุขภาพ ของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง อำเภอวังนํ้าเขียว จังหวัดนครราช สีมา Relationship between Health Belief Perception and Health Behaviors of Hypertension Patients in Wang Nam Khiao District, Nakhon

ผู้แต่ง

  • นุชนารถ อุดมญาติ
  • ศิราณีย์ อินธรหนองไผ่

คำสำคัญ:

การรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ ความดันโลหิตสูง health belief perception, health behavior, hypertension

บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง การรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพกับพฤติกรรมสุขภาพของผูป้ ว่ ยความดันโลหิตสูง กลุม่ ตัวอยา่ งคือผูป้ ว่ ยความดันโลหิตสูง จำนวน 220 คน สุม่ ตัวอยา่ง แบบแบง่ ชั้น เครื่องมือที่ใชใ้ นการวิจัย ประกอบดว้ ยแบบสอบถามขอ้ มูลสว่ นบุคคล แบบสอบถามการรับรูค้ วามเชื่อดา้ นสุขภาพเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง และแบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพของผูป้ ว่ ยความดันโลหิตสูง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ มีการรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพอยู่ในระดับสูง ( = 107.55,S.D.=6.72) มีพฤติกรรมสุขภาพอยูใ่ นระดับเหมาะสมปานกลาง ( = 58.93 ,S.D.= 5.95) ผลการหาความสัมพันธ์พบว่า การรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพโดยรวม ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r=-.04) เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า การรับรู้โอกาสเสี่ยง ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง (r=.10) การรับรู้ความรุนแรง และ การรับรู้ประโยชน์มีความสัมพันธท์ างบวกกับพฤติกรรมสุขภาพของผูป้ ว่ ยความดันโลหิตสูงอยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r=.16, .19ตามลำดับ) ส่วนการรับรู้อุปสรรคมีความสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r=-.31)
สรุปผล การรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพโดยรวมไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ผลการวิจัยชี้ใหเ้ ห็นวา่ ทีมสุขภาพควรมีการสง่ เสริมใหก้ ลุม่ ผูป้ ว่ ยความดันโลหิตสูงมีความตระหนักตอ่ การรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพ และการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมเพิ่มมากขึ้น โดยใช้วิธีการที่หลากหลาย

The purpose of descriptive study was to study the relationship between health belief perception and health behaviors of hypertension patients. A stratified random sampling technique was used to recruit 220 samples who were hypertension patients. The research instrument used in the research consisted of personal information, health belief perception questionnaire and health behavior of hypertension patient questionnaire. Descriptive statistic and pearson’s product moment correlation coefficient were used for data analysis.
The result of this research founded that most sample had health belief perception in high evel ( =107.55 ,S.D.=6.72) and health behaviors of hypertension patient was in moderate level ( =58.93,S.D.= 5.95). From the result of relationship reveal that 1) health belief perception was not associated withhealth behaviors of hypertension patient at level of .05 significantly. (r=-.04) 2) Perceived Susceptibilitywas not associated with health behaviors of hypertension patient. (r=.10) 3) Perceived Severity and Perceived Benefits were positive associated with health behaviors of hypertension patient at level of .05 significantly. (r=.16, .19) 4) Perceived Barriers was negative associated with health behaviors of hypertension patient at level of .05 significantly. (r=-.31) In conclusion, health belief perception was not associated with health behaviors of hypertension patient. Findings of this study suggest that health care providers should encourage health belief perceptions and proper health behaviors with various methods.

Downloads