ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการจัดการความปวดต่อการรับรู้ความปวด และความพึงพอใจในการจัดการความปวดของมารดาที่ได้รับ การผ่าตัดคลอดบุตร Effectiveness of Pain Management Guideline on Pain Perception and Satisfaction in Mothers with Cesarean Section
คำสำคัญ:
แนวปฏิบัติการจัดการความปวด ความพึงพอใจ มารดาหลังผ่าตัดคลอดบุตร pain management guideline, pain perception satisfaction, mothers with cesarean sectionบทคัดย่อ
การวิจัยเชิงเปรียบเทียบแบบ Retros pective and Prospective Uncontrolled before and after Intervention Study นี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบการรับรู้ความปวดกับเกณฑ์ควบคุมความปวดในมารดาที่ได้รับการผ่าตัดคลอดบุตร ระหวา่ งกลุม่ กอ่ นใชแ้ ละกลุม่ ที่ใชแ้ นวปฏิบัติการจัดการความปวดและความพึงพอใจในการจัดการความปวด กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเฉพาะเจาะจงเป็นมารดาที่ได้รับการผ่าตัดคลอดบุตร มารับบริการที่ศูนย์การ
แพทยป์ ญั ญานันทภิกขุ ชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จำนวนกลุม่ ละ 90 คน เครื่องมือวิจัย ประกอบดว้ ยแบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกความปวดและการจัดการความปวด แนวปฏิบัติการจัดการความปวด และแบบสอบถามความพึงพอใจในการจัดการความปวด แนวปฏิบัติการจัดการความปวด ผ่านการพิจารณาจากผู้ทรง
คุณวุฒิ 3 ท่าน มีค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 1 และความเชื่อมั่นของแบบสอบถามความพึงพอใจในการ
จัดการความปวด โดยหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้เท่ากับ .91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย
Chi-square และ One sample t-test ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการผ่าตัดแบบการลงมีดผ่าตัดที่บริเวณแนวกึ่งกลางของตัวมดลูก(Vertical incision) จำนวน 31 คน ได้รับการผ่าตัดแบบการลงมีดผ่าตัดในแนวขวางของตัวมดลูก (Transverseincision) จำนวน 149 คน กลุ่มที่ได้รับการผ่าตัดทั้งแบบ Vertical incision และ Transverse incision ควบคุมความปวดไม่ได้ตามเกณฑ์ (≤ 3 คะแนน) หลังผ่าตัด 24 ชั่วโมง ทั้งกลุ่มก่อนใช้และกลุ่มที่ใช้แนวปฏิบัติ แต่หลังผ่าตัด 48 และ 72 ชั่วโมง สามารถควบคุมความปวดได้ตามเกณฑ์ คะแนนความพึงพอใจในการจัดการความปวดในมารดาที่ไดรั้บการผา่ ตัดคลอดบุตร กลุม่ ที่ใชแ้ นวปฏิบัติการจัดการความปวด มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
The purpose of this comparative Retrospective and Prospective before and after intervention study aimed to compare pain perception of mothers with cesarean section between retrospective group and prospective group and pain management satisfaction. A purposive sample was mothers with cesarean section. Sample in retrospective and prospective group were 90 in each group who were admitted at Panyananthaphikkhu Chonprathan Medical Center, Srinakaharinwirot University.The research instruments were demographic data sheet, pain recording and pain management sheet, pain management satisfaction
questionnaire and pain management guideline. Pain management guideline was approved by threeexperts, CVI =1 and reliability of pain management satisfaction questionnaire by Cronbach’s alphaco-efficient = .91. Descriptive statistic, Chi-square และ One sample t-test were used in data analysis. The results of this study showed that 31 mothers were vertical incision and 149 mothers were transverse incision. Retrospective and prospective group in vertical and transverse incision could not control pain as criterion (three score) at 24 hours post-operative, but at 48 and 72 hours post-operative could control pain as criterion (three score). Average pain management satisfaction scores in mothers with cesarean section in prospective group were in high level.