บทบาทพยาบาลในการสื่อสารกับผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองและครอบครัวเพื่อการเยียวยา

ผู้แต่ง

  • นันท์ธิดา เชื้อมโนชาญ ภาควิชาการบริหารการพยาบาลและพื้นฐานวิชาชีพ คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
  • จุฬาพร ยาพรม ภาควิชาการบริหารการพยาบาลและพื้นฐานวิชาชีพ คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช

คำสำคัญ:

การดูแลแบบประคับประคอง , การสื่อสาร , การเยียวยา, บทบาทพยาบาล

บทคัดย่อ

การสื่อสารกับผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองและครอบครัวเพื่อการเยียวยา มีความสำคัญอย่างยิ่งในการเพิ่มคุณภาพการดูแลและเสริมสร้างความผาสุกทั้งทางกายและใจของผู้ป่วยและครอบครัว บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายบทบาทของพยาบาลในการสื่อสารกับผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองและครอบครัวเพื่อการเยียวยา โดยมุ่งเน้นการดูแลผู้ป่วยได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพ เนื้อหาครอบคลุมแนวคิดการดูแลแบบองค์รวมทั้งด้านร่างกายและจิตใจ รวมถึงการประยุกต์ใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วย ประกอบด้วย การประเมินข้อมูลผู้ป่วยอย่างครอบคลุม การกำหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล การวางแผน การปฏิบัติการพยาบาลและการประเมินผลที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย นอกจากนี้ยังอธิบายถึงทักษะการสื่อสารที่จำเป็น เช่น การฟังอย่างลึกซึ้ง การสะท้อนความรู้สึก การใช้ความเงียบ การใช้คำถาม การทวนซ้ำ และการสัมผัส ซึ่งพยาบาลจะสามารถนำความรู้ดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ในการให้การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองร่วมถึงญาติและครอบครัวจะช่วยให้เกิดส่งเสริมการดูแลผู้ป่วยที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นต่อไป

References

จารุรินทร์ ปิตานุพงศ์. (2564). การสื่อสารประเด็นเฉพาะด้านในการดูแลแบบประคับประคอง ใน ลักษมี ชาญเวชช์, ประถมาภรณ์ จันทร์ทอง, กิติพล นาควิโรจน์, และปิยพร ทิสยากร (บ.ก.), การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง เล่ม 2 (น. 527-537). สมาคมบริบาลผู้ป่วยระยะท้าย.

เบญจวรรณ นันทชัย, และกอปรกมล ศรีภิรมย์. (2563). รูปแบบการสื่อสารระหว่างผู้ปฏิบัติการทางสุขภาพกับผู้ป่วยระยะสุดท้ายในบริบทประเทศไทยและต่างประเทศ. วารสารราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 7(1), 233-260.

ปทมพร อภัยจิตต์. (2563). การสื่อสารในผู้ป่วยระยะท้ายและครอบครัว. ใน วิโรจน์ ไววานิชกิจ, และปทมพร อภัยจิตต์ (บ.ก.), หลักการพยาบาลผู้สูงอายุ เล่ม 4: การพยาบาลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (น. 21-28). สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทัศนีย์ ทองประทีป. (2558). จริยธรรมในการดูแลแบบประคับประคอง. ใน ประคอง อินทรสมบัติ, และสายพิณ เกษมกิจวัฒนา (บ.ก.). คู่มือพัฒนาทักษะสำหรับพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย (น. 49-52). สภาการพยาบาลและสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย.

เยาวรัตน์ มัชฌิม. (2565). การดูแลแบบประคับประคอง: ประยุกต์ความรู้สู่การปฏิบัติ (พิมพ์ครั้งที่ 2). โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ราตรี ฉิมฉลอง. (2564). เทคนิคการสื่อสารในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายสำหรับพยาบาล. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี, 4(1), 1-14.

รุ้งนภา ผาณิตรัตน์. (2558). การสื่อสารเพื่อการเยียวยา ใน ประคอง อินทรสมบัติ, และสายพิณ เกษมกิจวัฒนา (บ.ก.), คู่มือพัฒนาทักษะสำหรับพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย (น.19-46). สภาการพยาบาลและสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย.

สมรทิพย์ วิภาวนิช. (2564). บทบาทพยาบาลจิตเวชในการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9, 15(38), 732-743.

สุพัตรา สิงห์อุตสาหะชัย, วริยา วชิราวัธน์, และภาวนา กีรติยุตวงศ์. (2565). ผลของการพยาบาลแบบสนับสนุนและให้ความรู้ต่อความรู้ความสามารถในการดูแลตนเองความพึงพอใจต่อการพยาบาลและผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่รักษาด้วยเครื่องไตเทียม. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 16(2), 39-52.

สุรีย์ ลี้มงคล. (2558). บทบาทของพยาบาลในการดูแลแบบประคับประคอง ใน ประคอง อินทรสมบัติ, และสายพิณ เกษมกิจวัฒนา (บ.ก.), คู่มือพัฒนาทักษะสำหรับพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย (น. 70-77). สภาการพยาบาลและสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย.

อกนิษฐ์ กมลวัชรพันธุ์. (2567). การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการสื่อสารกับครอบครัวผู้ป่วยวิกฤติระยะท้ายเพื่อการดูแลแบบประคับประคอง หอผู้ป่วยไอซียู โรงพยาบาลเซกา จังหวัดบึงกาฬ.กระทรวงสาธารณสุข. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบึงกาฬ. https://bkpho.moph.go.th/ssjweb/bkresearch/index.php?fn=detail&sid=263

อรนันท์ หาญยุทธ. (2565). กระบวนการพยาบาล: ทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. ธนอรุณการพิมพ์.

Arnold, E. C., & Boggs, K. U. (2019). Interpersonal relationships e-book: Professional communication skills for nurses. Elsevier Health Sciences.

Branden, N. (2021). The power of self-esteem. Health Communications, Inc.

De Shazer, S., Dolan, Y., Korman, H., Trepper, T., McCollum, E., & Berg, I. K. (2021). More than miracles: The state of the art of solution-focused brief therapy. Routledge.

Dietrich, N., Estradé, A., & Cruzado, J. A. (2021). Efficacy of Meaning-Centered Psychotherapy in adult patients with advanced cancer: A systematic review and meta-analysis. Psicooncologia, 18(2), 227-244.

Fraguell-Hernando, C., Limonero, J. T., & Gil, F. (2020). Psychological intervention in patients with advanced cancer at home through individual meaning-centered psychotherapy-palliative care: A pilot study. Supportive Care in Cancer, 28, 4803-4811. https://doi.org/10.1007/s00520-020-05322-2

Rapoport, A. (1990). The meaning of the built environment: A nonverbal communication approach. University of Arizona Press.

Riklikien, O., Tomkevičiute, J., Spirgiene, L., Valiuliene, Ž., & Büssing, A. (2020). Spiritual needs and their association with indicators of quality of life among non-terminally ill cancer patients: Cross-sectional survey. European Journal of Oncology Nursing, 44, 101681. https://doi.org/10.1016/j.ejon.2019.101681

Scherer, J. S., Milazzo, K. C., Hebert, P. L., Engelberg, R. A., Lavallee, D. C., Vig, E. K., Tamura, M. K., Roberts, G., Curtis, J. R., & O’Hare, A. M. (2021). Association between self-reported importance of religious or spiritual beliefs and end-of-life care preferences among people receiving dialysis. JAMA Network Open, 4(8), e2119355. https://doi.org/10.1001/jamanetworkopen.2021.19355

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-26