แนวทางการส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด:
การสังเคราะห์งานวิจัยอย่างเป็นระบบ
คำสำคัญ:
ผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็ง , ยาเคมีบำบัด , การดูแลสุขภาพช่องปากบทคัดย่อ
โรคมะเร็งในเด็กเป็นโรคเรื้อรังที่ต้องใช้การรักษาด้วยยาเคมีบำบัด อย่างไรก็ตามการรักษาดังกล่าวอาจก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อน ที่พบบ่อยคือ ภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบ มีการวิจัยมากมายที่พยายามค้นหาแนวทางการส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด วัตถุประสงค์ของการทบทวนงานวิจัยอย่างเป็นระบบครั้งนี้เพื่อศึกษาผลของแนวทางการส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด โดยสืบค้นงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ที่เป็นภาษาไทย และภาษาอังกฤษในฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ CINHAL, Cochrane, Ovid MEDLINE, PsycINFO, Pubmed, Scopus, และ ThaiJO รวมทั้งการสืบค้นด้วยมือ เพื่อค้นหางานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2552 ถึง พ.ศ. 2563 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การสรุปเชิงเนื้อหา จากงานวิจัยที่สืบค้นได้ จำนวน 1,456 เรื่อง มีงานวิจัยที่ผ่านเกณฑ์การประเมินการคัดกรอง จำนวน 12 เรื่อง โดยมีแนวทางการส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด 2 แนวทางคือ 1) การพัฒนาโปรแกรมให้ความรู้และป้องกันสุขภาพในช่องปาก และ 2) การใช้สารธรรมชาติในการป้องกันและรักษาภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบ โดยทั้ง 2 แนวทางสามารถป้องกันและลดความรุนแรงการเกิดภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบในเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัดได้ อย่างไร ก็ตามการศึกษาที่ผ่านมาเป็นการศึกษาระยะสั้น ดังนั้นการวิจัยเพื่อติดตามประเมินผลระยะยาวเพื่อดูความคงอยู่ของพฤติกรรมที่มีการเปลี่ยนแปลงจึงมีความจำเป็นต่อไป
References
ธิติมา ชูใหม่. (2559). การเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กปฐมวัย. วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล, 1, 18-33.
นริศรา วิสุงเร และจินตนา ตั้งวรพงศ์ชัย. (2559). ผลของโปรแกรมเตรียมความพร้อมผู้ดูแลต่อพฤติกรรมการดูแลเด็กป่วยวัยก่อนเรียนที่เริ่มได้รับการวินิจฉัยโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว. วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ, 39(4), 109-118.
โรส ภักดีโต. (2562). การพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด: กรณีศึกษา. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 12(2), 1-15.
วรรษมน ปาพรม และจินตนา ตั้งวรพงศ์ชัย. (2557). ผลของนวัตกรรมการดูแลเยื่อบุช่องปากอักเสบต่อพฤติกรรมการดูแลของผู้ดูแลเด็กป่วยวัยก่อนเรียนโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวที่ได้รับยาเคมีบำบัดระยะรักษาแบบเข้มข้น. วารสารพยาบาลศาสาตร์และสุขภาพ, 37(1), 21-29.
วรรษา แซ่อุ่ย. (2552) ผลของโปรแกรมการสร้างพลังใจ ต่อความสามารถในการดูแลของผู้ดูแลเด็กป่วยวัยก่อนเรียนโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน ที่ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด. [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยมหิดล.
ศิริพร เวชโช, กุลทัต หงส์ชยางกูร, รัชตะวรรณ โอฬาพิริยกุล และมาลัย ว่องชาญชัยเลิศ. (2557). ผลของโปรแกรมการดูแลสุขภาพช่องปากต่อภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบ ในเด็กวัยเรียนโรคมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด. วารสารสภาการพยาบาล. 29(2), 61-71.
อังคณา เจียมจิระพร. (2552). ผลของโปรแกรมการดูแลช่องปากด้วยตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลช่องปากและภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบของผู้ป่วยเด็กวัยเรียนโรคมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด. [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยมหิดล.
Abdulrhman, M., Elbarbary, N. S., Ahmed Amin, D., & Saeid Ebrahim, R. (2012). Honey and a mixture of honey, beeswax, and olive oil-propolis extract in treatment of chemotherapy-induced oral mucositis: A randomized controlled pilot study. Pediatric Hematology and Oncology, 29(3), 285-292. https://doi.org/10.3109/08880018.2012.669026
Al Jaouni, S. K., Al Muhayawi, M. S., Hussein, A., Elfiki, I., Al-Raddadi, R., Al Muhayawi, S. M., Almasaudi, S., Kamal, M. A., & Harakeh, S. (2017). Effects of honey on oral mucositis among pediatric cancer patients undergoing chemo/radiotherapy treatment at King Abdulaziz University Hospital in Jeddah, Kingdom of Saudi Arabia. Evidence-based Complementary & Alternative Medicine (eCAM), 2017, 1-7. https://doi.org/10.1155/2017/5861024
Anirudhan, D., Bakhshi, S., Xess, I., Broor, S., & Arya, L. S. (2008). Etiology and outcome of oral mucosal lesions in children on chemotherapy for acute lymphoblastic leukemia. Indian pediatrics, 45(1), 47–51.
Bahrololoomi, Z., Sadat-Hashemi, A., Hassan-Akhavan-Karbassi, M., & Khaksar, Y. (2020). Evaluating the additive effect of Persica and chlorhexidine mouthwashes on oral health status of children receiving chemotherapy for their hematomalignancy: A randomized clinical trial. Journal of Clinical and Experimental Dentistry, 12(6), e574-e580. https://doi.org/10.4317/jced.56104
Bezerra, P. M. M., Sampaio, M. E. A., Dos Santos, F. G., Ribeiro, I. L. A., Santiago, B. M., de Sousa, S. A., & Valença, A. M. G. (2021). The effectiveness of an oral health education and prevention program on the incidence and severity of oral mucositis in pediatric cancer patients: A non-randomized controlled study. Supportive Care in Cancer, 1-9. https://doi.org/10.1007/s00520-021-06387-3
Bus, L. (2018, May 15). How long can your child stay focused and how can you help?https://blog.lingobus.com/chinese-learning-resources/how-long-can-your-child-stay-focused-and-how-can-you-help/
Cheng K. K. F. (2009). Oral mucositis: a phenomenological study of pediatric patients' and their parents' perspectives and experiences. Supportive care in cancer : official journal of the Multinational Association of Supportive Care in Cancer, 17(7), 829–837. https://doi.org/10.1007/s00520-009-0618-2
Cheng, K. K. F., (2011). Incidence and risk factors of oral mucositis in pediatric and adolescent patients undergoing chemotherapy. Oral Oncology, 47(3), 153-162. https://doi.org/ 10.1016/j.oraloncology.2010.11.019
Dang, D., Dearholt, S., Bissett, K., Ascenzi, J., & Whalen, M. (2022). Johns Hopkins evidence-based practice for nurses and healthcare professionals: Model and guidelines (4th ed.). Sigma Theta Tau International.
Hawley, P., Hovan, A., McGahan, C. E., & Saunders, D. (2014). A randomized placebo-controlled trial of manuka honey for radiation-induced oral mucositis. Supportive Care in Cancer, 22(3), 751-761. https://doi.org/10.1007/s00520-013-2031-0
Huitt, W., & Hummel, J. (2003). Piaget's theory of cognitive development. Educational Psychology Interactive. http://www.edpsycinteractive.org/topics/cognition/piaget.html
Kobya Bulut, H., & Güdücü Tüfekci, F. (2016). Honey prevents oral mocositis in children undergoing chemotherapy: A quasi-experimental study with a control group. Complementary Therapies in Medicine, 29, 132-140. https://doi.org/10.1016/j.ctim.2016.09.018
Kostak, M. A., Semerci, R., Eren, T., Kocaaslan, E. N., & Yildiz, F. (2020). Effects of oral health care education on the severity of oral mucositis in pediatric oncology patients. Turk Onkoloji Dergisi, 35(4), 422-429. https://doi.org/10.5505/tjo.2020.2366
Kwiensungnoen, P., Kantawang, S., & Niyomka, S. (2020). Effect of oral mucositis management program on symptom status of children with cancer receiving chemotherapy. Nursing Journal, 47(1), 101-112.
Levin, L., Bilder, L., & Borisov, O. (2015). Improving oral hygiene skills among children undergoing treatment at the haemato-oncology department - an interventional programme. International dental journal, 65(4), 211-215. https://doi.org/10.1111/idj.12171
NHS Centre for Review and Dissemination. (2001). Undertaking systematic review of research on effectiveness: CRD guidelines for those carrying out or commissioning reviews. NHS Centre for Reviews and Dissemination.
Pasupuleti, V. R., Kumara, K. T., Salleh, N., & Gan, S. H. (2016). Biological and therapeutic effects of honey produced by honey bees and stingless bees: A comparative review. Revista Brasileira de Farmacognosia, 26(5), 657-664. https://doi.org/10.1016/j.bjp.2016.01.012
Pasupuleti, V. R., Sammugam, L., Ramesh, N., & Gan, S. H. (2017). Honey, propolis, and royal jelly: A comprehensive review of their biological actions and health benefits. Oxidative Medicine and Cellular Longevity, 2017. https://doi.org/10.1155/2017/1259510
Ponce-Torres, E., Ruíz-Rodríguez, M., Alejo-González, F., Hernández-Sierra, J. F., & Pozos-Guillén, A. (2010). Oral manifestations in pediatric patients receiving chemotherapy for acute lymphoblastic leukemia. The Journal of clinical pediatric dentistry, 34(3), 275–279. https://doi.org/10.17796/jcpd.34.3.y060151580h301t7
Ribeiro, I. L. A., de Castro, R. D., Costa, R. C., Damascena, L. C. L., de Lucena, N. N. N., Maracajá, P. M. B., Dos Santos, F. G., de Medeiros Serpa, E. B., Sousa, S. A., & Valença, A. M. G. (2021). Integrated oral care contributes positively to the course of treatment of oncopediatric patients. European Journal of Pediatrics. https://doi.org/10.1007/s00431-021-04024-z
Thailek, T., Wiroonpanich, W., & Punthmatharith, B. (2021). Effects of mobile application for enhancing oral care self-efficacy. Songklanagarind Journal of Nursing, 41(1), 37-53.
Tomaževič, T., & Jazbec, J. (2013). A double blind randomised placebo controlled study of propolis (bee glue) effectiveness in the treatment of severe oral mucositis in chemotherapy treated children. Complementary Therapies in Medicine, 21(4), 306-312. https://doi.org/10.1016/j.ctim.2013.04.002
Viuda-Martos, M., Ruiz-Navajas, Y., Fernandez-Lopez, J., & Perez-Alvarez, J. A. (2008). Functional properties of honey, propolis, and royal jelly. Journal of Food Science, 73(9), R117-R124. https://doi.org/10.1111/j.1750-3841.2008.00966.x
World Health Organization. (2021). CureAll framework: WHO global initiative for childhood cancer: Increasing access, advancing quality, saving lives. https://apps.who.int/iris/handle/10665/347370
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 ราชาวดีสาร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในราชาวดีสาร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในราชาวดีสาร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่หรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากราชาวดีสาร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์ ก่อนเท่านั้น