แนวทางการปรับพฤติกรรมทางสุขภาพ สู่การชะลอการเสื่อมของไตในผู้ป่วยเบาหวาน :

การประยุกต์ใช้ทฤษฎีความสามารถของตนเอง

ผู้แต่ง

  • ณิชกานต์ วงษ์ประกอบ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา
  • กฤตกร หมั่นสระเกษ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา
  • จงกลนี ตุ้ยเจริญ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา
  • สุพิตรา เศลวัตนะกุล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์

คำสำคัญ:

พฤติกรรมทางสุขภาพ, การชะลอการเสื่อมของไตในผู้ป่วยเบาหวาน, ทฤษฎีความสามารถของตนเอง

บทคัดย่อ

   โรคไตเรื้อรังที่เป็นปัญหาสำคัญของสาธารณสุขทั่วโลก พบแนวโน้มของอุบัติการณ์และความชุกเพิ่มขึ้นทุกปีโดยเฉพาะโรคไตจากเบาหวาน ความเสื่อมของไตในผู้ป่วยโรคเบาหวานเกิดจากพฤติกรรมทางสุขภาพ  พฤติกรรมการรับประทานอาหารและน้ำ ซึ่งประกอบด้วย การรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง อาหารรสเค็มจัด การดื่มน้ำ การรับประทานยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (NSAIDs) การสูบบุหรี่ และการดื่มแอลกอฮอล์ วัตถุประสงค์ของบทความนี้เพื่อนำเสนอแนวทางการปรับพฤติกรรมทางสุขภาพเพื่อชะลอการเสื่อมของไตในผู้ป่วยเบาหวาน โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีความสามารถของตนเอง (Self-efficacy) ทฤษฎีความสามารถของตนเองที่มีผลต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วย ประกอบด้วย 1) ประสบการณ์ที่ประสบความสำเร็จด้วยตนเอง (Enactive mastery experience) 2) การได้เห็นตัวแบบหรือประสบการณ์จากผู้อื่น (Vicarious experience) ) โดยการใช้ตัวแบบ (Modeling) 3) การชักจูงด้วยคำพูด (Verbal persuasion) 4) สภาวะด้านร่างกายและอารมณ์ (Physiological and affective states) เข้ามาช่วยในการสร้างพฤติกรรมสุขภาพ การใช้ทฤษฎีดังกล่าวมีส่วนสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทำให้ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติพฤติกรรมได้ด้วยตนเองอันเป็นเป้าหมายสำคัญของการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานที่มุ่งเน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและป้องกันภาวะแทรกซ้อน นำมาซึ่งคุณภาพชีวิตที่ดี

References

กมลวรรณ สาระ. (2559). ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดไตวายเรื้อรังระยะที่ 3-5 ในโรงพยาบาลตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญาเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาเภสัชกรรมคลินิก บัณฑิตวิทยาลัย,คณะเภสัชศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

กระทรวงสาธารณสุข. (2559). คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง (CKD) ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง. นนทบุรี: สํานักงานกิจการโรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึกในพระบรมราชูปถัมภ์.

ไกรวิพร เกียรติสุนทร. (2550). เราจะลดความเสี่ยงของโรคไตจากเบาหวานได้อย่างไร. วารสารมูลนิธิโรคไตแห่งประเทศไทย, 21(42), 77-81.

ทิพย์สุดา แสนดี. (2559). ผลการเสริมสร้างการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ น้ำหนักและค่าน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหารของกลุ่มเสี่ยงเบาหวานในชุมชน. วิทยานิพนธ์พยาบาลมหาบัณฑิต. สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน, คณะพยาบาลศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.

ธัญญา รอดสุข, อรวรรณ บำรุง และอรนงค์ คงเรือง. (2558). เอกสารวิชาการเรื่อง ระบาดวิทยาโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 – 2557. กรุงเทพฯ : สำนักงานควบคุมโรคที่ 1.

บัญชา สถิระพจน์. (2554). Diagnosis and Management of Diabetic Nephropathy. เวชสารแพทย์ทหารบก, 64(1), 53-63.

ปริยากร วังศร, วีนัส ลีหฬกุลและทิพา ต่อสกุลแก้ว. (2560). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนและพฤติกรรมในการควบคุมภาวะไตเสื่อมในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา, 10(2), 98-110.

พรทวี เลิศศรีสถิต และสุชีลา จันทร์วิทยานุชิต. (2563). ยาต้านอักเสบชนิดไม่ใช่สเตียรอยด์. สืบค้นจาก

https://med.mahidol.ac.th/med/sites/default/files/public/pdf/medicinebook1/NSAIDS.pdf

มณีรัตน์ จิรัปปภา. (2557). การชะลอไตเสื่อมจากวัยผู้ใหญ่ถึงวัยผู้สูงอายุ. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา, 20(2), 5-16.

วรางคณา พิชัยวงศ์. (2558). โรคไตจากเบาหวาน. วารสารกรมการแพทย์, 40(5), 19-24.

สมพงษ์ หามวงษ์, และพรรณี บัญชรหัตถกิจ. (2556). ผลของโปรแกรมสุขศึกษาโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีความสามารถแห่งตนร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับบริการ ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองกุงเผือก อำเภอหนองกุงศรีจังหวัดกาฬสินธุ์. ศรีนครินทร์เวชสาร, 28(4),451-460.

สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทยและสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. (2555). คู่มือการจัดการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะเริ่มต้น พ.ศ.2555. สืบค้นจาก http://110.164.147.155/kmhealth_new/Documment/kidney/knowlage/manual1.pdf

สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. (2560). แนวทางเวชปฏิบัติสาหรับโรคเบาหวาน 2560 (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : ร่มเย็น มีเดีย.

American Diabetes Association. (2017).Classification and Diagnosis of Diabetes. Diabetes Care,40, 11-24.

Bandura, A. (1997). Self-Efficacy: The Exercise of Control. New York: W.H. Freeman and Company.

Bandura,A. (1977). Self - efficacy :Towerd a unifying theory of behavioralchange.Psychological Review,84,191-215.

Elihimas, Jr.U.F. (2014). Smoking as risk factor for chronic kidney disease. Journal Brasileiro deNefrologia, 36(4), 519-528.

Freil, A., Herzog, S., Woitzek, K., Held, U., Senn, O., Rosemann, T., & Chmie, C. (2012). Characteristics of poorly controlled Type 2 diabetes patients in Swiss primary care. Cardiovascular Diabetology, 12. 1–9.

Gaede, P., Lund-Andersen, H., Parving, H.H., &Pederson, O. (2008). Effect of a multifactorial intervention on mortality in type 2 diabetes. The New England Journal of Medicine; 358(6), 580–591.

Kidney Disease Improving Global Outcomes. (2013). KDIGO clinical practice guideline for the management of blood. Pressure in chronic kidney disease. Kidney International Supplements, 2(5),337-414.

Kidney Disease Outcomes Quality Initiative. (2002). Clinical practice guidelines for chronickidney disease: evaluation, classification, and stratification. American Journal of Kidney Diseases,39,1-226.

Koning, S.H., Gansevoort, R.T., Mukamal, K.J., Rimm, E.B., & Stephan, J. L. (2015). Alcoholconsumption is inversely associated with the risk of developing chronic kidney disease. Kidney International,87(5), 1009-1016.

Lipetz, M., Bussigel, M., Bannerman, J. & Risley, B. (1990). What is wrong with patienteducation programs.Nursing Outlook, 36, 184-89.

Nderitu, P., Doos, L., Jones, P. W., Davies, S. J., & Kadam, U. T. (2013). Non-steroidal antiinflammatory drugs and chronic kidney disease progression: a systematic review. Family Practice, 30(3), 247-255.

Schaeffner, E. S., Kurth, T., Curhan, G. C., Glynn, R. J., Rexrode, K. M., Baigent, C., Buring, J. E., & Gaziano, J. M. (2003). Cholesterol and the risk of renal dysfunction in apparently healthy men. Journal of the American Society of Nephrology,14(8), 2084-2091.

Smyth, A., O'Donnell, M. J., Yusuf, S., Clase, C.M., Teo, K. K., Canavan, M., Reddan, D. N., &Mann, J. F. (2014). Sodium intake and renal outcomes: A systematic review. American Journal of Hypertension, 27(10), 1277-1284.

Sontrop, J. M., Dixon, S. N., Garg, A. X., Buendia-Jimenez, I., Dohein, O., Huang, S. H., & Clark, W. F. (2013). Association between water intake, chronic kidney disease, and cardiovascular disease: A cross-sectional analysis of NHANES data. American Journal of Kidney Diseases, 37(5),434-442.

Tervaert, T. W. C., Mooyaart, A. L., Amann, K., Cohen, A. H., Cook, H. T., Drachenberg, C. B., Ferrario, F., Fogo, A. B., Haas, M., Heer, E., Joh, K., Noël, L. H., Radhakrishnan, J., Seshan, S. V., Bajema, I. M., Bruijn, J. A. (2010). Pathologic classification of diabeticnephropathy. Journal of the American Society of Nephrology, April; 21(4), 556-563.

Tozawa, M., Iseki, K., Iseki, C., Oshiro, S., Ikemiya, Y., &Takishita, S. (2002). Triglyceride, but nottotal cholesterol or low-density lipoprotein cholesterol levels,predict development of protienuria. Kidney International, 62(5), 1743-1749.

Tsai, H.J., Hsu, Y.H., Huang, Y.W., Chang, Y.K., Liu, J.S., &Hsu, C.C.(2015). Use of non-steroidalanti-inflammatory drugs and risk of chronic kidney disease in people with Type 2 diabetes mellitus, a nationwide longitudinal cohort study. Diabetic Medicine Journal,32(3), 382–390.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-25