การเปรียบเทียบการดูแลทางการพยาบาลในผู้ป่วยภาวะกรดแลคติกเกิน สัมพันธ์กับการใช้ยาเมทฟอร์มิน :

กรณีศึกษา 2 ราย

ผู้แต่ง

  • เยาวดี อุตระศรี โรงพยาบาลกาบเชิง อำเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์

คำสำคัญ:

การพยาบาล, ภาวะกรดแลคติกเกิน, ยาเมทฟอร์มิน

บทคัดย่อ

             ภาวะกรดแลคติกเกินจากการใช้ยาเมทฟอร์มินในผู้ป่วยโรคเบาหวาน ทำให้เกิดอาการทางระบบทางเดินอาหาร เช่น เบื่ออาหาร คลื่นไส้ และท้องเสีย เกิดการเสียสมดุลของสารน้ำและอิเล็คโตรไลค์ เกิดภาวะช็อกมีภาวะติดเชื้อในร่างกาย มีภาวะไตวายเฉียบพลัน ซึ่งอาจพบภาวะแทรกซ้อนตั้งแต่มีภาวะความรุนแรงน้อยจนถึงความรุนแรงมากและทำให้เสียชีวิตได้ การศึกษาการพยาบาลและการแจ้งเตือนเฝ้าระวังภาวะกรดแลคติกเกิน จะช่วยให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาและการพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพและได้รับการดูแลรวดเร็วส่งผลถึงความปลอดภัย หากมีแนวทางการเฝ้าระวังการดูแลทางการพยาบาลระบบการแจ้งเตือนภาวะกรดแลคติกเกินสำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ได้รับยาเมทฟอร์มินในรายที่มีความเสี่ยงก็จะได้รับการดูแลรักษาและการพยาบาลอย่างเหมาะสม และสามารถป้องความรุนแรงที่จะเกิดกับผู้ป่วยโรคเบาหวานได้

References

กมลรัตน์ ทองปลั่ง. (2561). การดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรังแบบสหสาขาวิชาชีพในคลินิกหัวใจล้มเหลวโรงพยาบาลนครปฐม. วารสารแพทย์ เขต 4-5, 37(2), 108-118.

กองการพยาบาล. (2562). มาตรฐานการบริการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน.สืบค้นจาก http://www.sirindhornhosp.go.th/userfile/file/nursing_standards/07.pdf

จารุณี อินทฤทธิ์. (2556).โรควิตกกังวลและการพยาบาล. ใน ฉวีวรรณ สัตยธรรม, แผ จันทร์สุข และศุกร์ใจ เจริญสุข (บรรณาธิการ), การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต.(หน้า 80-93). กรุงเทพมหานคร: ธนาเพรส.

ชลธิรา เรียงคำ. (2559). การพยาบาลผู้ป่วยเบาหวาน. ใน วันดี โตสุขศรี และคณะ (บรรณาธิการ), การพยาบาลอายุรศาสตร์ 1. (พิมพ์ครั้งที่ 4 หน้า 110 -141). กรุงเทพมหานคร: เอ็นพีเพรส.

เบญจวรรณ อยู่สำราญ และธิดา เอื้อกฤดาธิการ. (2555).ประสิทธิผลของการใส่อากาศใน Cuff ท่อช่วยหายใจโดยใช้แนวปฏิบัติจากการทบทวนหลักฐานเชิงประจักษ์ในผู้ป่วยที่ได้รับยาระงับความรู้สึก โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่. วิสัญญีสาร, 38(1), 8-38.

ประทุม สร้อยวงศ์. (2560). การพยาบาลผู้ป่วยโรคเบาหวาน. ใน ประทุม สร้อยวงศ์ (บรรณาธิการ), การพยาบาลอายุรศาสตร์. (หน้า 209 -224). เชียงใหม่: โครงการตำราคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

พัทรียา โภคะกุล. (2559). การใช้ยา metformin กับความเสี่ยงการเกิดภาวะเลือดเป็นกรด (lactic acidosis). ข่าวสารด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ. 19(3), 75-78.

เพียงเพ็ญ เดชพร. (2562). การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะเลือดเป็นกรดแลคติกเกินซึ่งสัมพันธ์กับการใช้ยาเมท

ฟอร์มิน: กรณีศึกษา. ชัยภูมิเวชสาร, 39(1), 45-53.

ภาณุพงศ์ รักษาวงศ์. (2562). ภาวะความผิดปกติของโพแทสเซียม (potassium disorders). สืบค้นจาก

https://ccpe.pharmacycouncil.org/index.php?option=article_detail&subpage=article_detail&id=435

รจนา จักรเมธากุล. (2561). ภาวะเลือดเป็นกรดแลคติกเกินซึ่งสัมพันธ์กับการใช้ยาเมทฟอร์มิน. วารสารสมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย, 8(1), 147-151.

วัลภา คุณทรงเกียรติ. (2554). ภาวะช็อคและการพยาบาล (พิมพ์ครั้งที่ 4). ชลบุรี: ศรีศิลปะการพิมพ์.

สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย. (2560). แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ.2560. ปทุมธานี: ร่มเย็น มีเดีย.

สารัช สุนทรโยธิน และปฏิณัฐ บูรณะทรัพย์ขจร. (2555). ตำราโรคเบาหวาน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อัจฉริยา พ่วงแก้ว. (2559). การพยาบาลผู้ป่วยเสียสมดุลน้ำและอิเล็คโทรไลต์. ใน วันดี โตสุขศรี และคณะ (บรรณาธิการ), การพยาบาลอายุรศาสตร์ 2. (พิมพ์ครั้งที่ 4, หน้า 1-31). กรุงเทพมหานคร: เอ็นพีเพรส.

Panchal, A. R., Berg, K. M., Cabañas, J. G., Kurz, M. C., Link, M. S., Rios, M. D., . . . Kudenchuk, P. J. (2019). 2019 American Heart Association Focused Update on Systems of Care: Dispatcher-Assisted Cardiopulmonary Resuscitation and Cardiac Arrest Centers An Update to the American Heart Association Guidelines for Cardiopulmonary Resuscitation and Emergency Cardiovascular Care. Circulation, 140(24), 895-903.

Bristol-Myers Squibb Company. (2009). Glucophage (metformin hydrochloride) and Glucophage XR (extended-release) prescribing information. New Jersey : Princeton.

Choi H. S., Jung, K. H., Shim, J. J., Chae, M. J., Lee, S. H., Lee, T. W., . . . Kim, M. J. (2004). A case of metformin-associated lactic acidosis. Korean Journal of Nephrology, 23(1), 143-146.

Emslie-Smith, A. M., Boyle, D. I., Evans, J. M., Sullivan, F., & Morris AD. (2001). Contraindications to metformin therapy in patients with type 2 diabetes: a population based study of adherence to prescribing guidelines. Diabetic medicine : a journal of the British Diabetic Association,18(6), 483-488.

DeFronzo, R., Fleming , D. A., Chen, K., & Bicsak, T. A. (2016). Metformin associated Lactic Acidosis: current perspectives on causes and risk. Metabolism: clinical and experimental, 65(2), 20 -29.

Sirtori, C. R., & Pasik, C. (1994). Re-evaluation of a biguanide, metformin: mechanism of action and tolerability. Pharmacological research, 30(3), 187-228.

Viollet, B., Guigas, B., Sanz Garcia, N., Leclerc, J., Foretz ,M., & Andreelli, F. (2012). Cellular and molecular mechanisms of metformin: an overview. Clinical Science, 122(6), 253-270.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-29