โรควิตกกังวลทั่วไป ดีขึ้นได้ด้วยการปรับความคิดและพฤติกรรม

ผู้แต่ง

  • จุฑารัตน์ ทองสลับ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์

คำสำคัญ:

โรควิตกกังวลทั่วไป, การบำบัดแบบปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม

บทคัดย่อ

       โรควิตกกังวลทั่วไป  เป็นหนึ่งในโรคกลุ่มโรควิตกกังวลที่พบบ่อยที่สุด ซึ่งผู้ป่วยจะมีความวิตกกังวลมากเกินไปในหลายๆ สถานการณ์ และรู้สึกว่าควบคุมได้ยาก อาการเป็นอย่างเรื้อรัง เนื่องจากการไม่สามารถเผชิญปัญหาหรือจัดการกับความวิตกกังวลที่เกิดขึ้นได้อย่างเหมาะสม ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวันของผู้ป่วยและที่รุนแรงที่สุดคืออาจเสียชีวิตได้ แต่เดิมการดูแลช่วยเหลือคือการรักษาโดยใช้ยาเพื่อลดความวิตกกังวลและบรรเทาอาการแสดงทางกาย แต่ก็ไม่มีประสิทธิภาพมากเพียงพอ จากการศึกษาพบว่ามีการบำบัดที่ได้รับการยอมรับและมีการรายงานถึงประสิทธิภาพอย่างแพร่หลาย คือการบำบัดแบบปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า CBT โดยการบำบัดนี้จะเน้นการปรับเปลี่ยนความคิดที่บิดเบือนให้เป็นความคิดใหม่ที่ถูกต้อง เรียนรู้การมีพฤติกรรมใหม่ที่เหมาะสม ซึ่งจะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถเผชิญปัญหาหรือจัดการกับความวิตกกังวลที่เกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ

References

แผ จันทร์สุข. (2556). การบำบัดรักษาทางจิตสังคม. ใน ฉวีวรรณ สัตยธรรม แผ จันทร์สุข และศุกร์ใจ เจริญสุข (บรรณาธิการ), การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต (ฉบับปรับปรุง) เล่มที่ 2. (หน้า 45-52). กรุงเทพฯ: ธนาเพรส.

พันธุ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์, นพพร ตันติรังสี วรวรรณ จุฑา, อธิบ ตันอารีย์, ปทานนท์ ขวัญสนิท, สาวิตรี อัษณางค์กรชัย และสุทธา สุปัญญา. (2560). ความชุกของโรคจิตเวชและปัญหาสุขภาพจิต : การสำรวจระบาดวิทยาสุขภาพจิตของคนไทยระดับชาติ ปี พ.ศ. 2556.วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย, 25(1), 1-19.

รัตนา สายพาณิชย์ และธนิตา หิรัญเทพ. (2558). โรควิตกกังวล. ใน มาโนช หล่อตระกูลและปราโมทย์ สุคนิชย์ (บรรณิการ), จิตเวชศาสตร์รามาธิบดี (พิมพ์ครั้งที่ 4, หน้า 190-208). กรุงเทพฯ: ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล.

รัตนา สายพาณิชย์ และสุวรรณี พุทธิศรี. (2555). โรควิตกกังวล. ใน มาโนช หล่อตระกูลและปราโมทย์ สุคนิชย์ (บรรณาธิการ), จิตเวชศาสตร์รามาธิบดี. (พิมพ์ครั้งที่ 3, หน้า 174-195). กรุงเทพฯ: ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล.

ศรีเรือน แก้วกังวาน. (2554). ทฤษฎีจิตวิทยาบุคลิกภาพ (รู้เขา รู้เรา). (พิมพ์ครั้งที่ 16, หน้า 281-290). กรุงเทพฯ: หมอชาวบ้าน.

ศุกร์ใจ เจริญสุข. (2556).แนวคิดทฤษฎีทางการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต. ใน ฉวีวรรณ สัตยธรรม, แผ จันทร์สุข และศุกร์ใจ เจริญสุข (บรรณาธิการ), การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต(ฉบับปรับปรุง) เล่มที่ 1.(หน้า 90-112). กรุงเทพฯ: ธนาเพรส.

สายฝน เอกวรางกูร (บรรณาธิการ). (2559). แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต ใน การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต: ศาสตร์และศิลป์สู่การปฏิบัติ 1.(พิมพ์ครั้งที่ 3, หน้า1-37) นครศรีธรรมราช: ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.

สำนักยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข. (2560). รายงานผู้ป่วยมารับบริการด้านจิตเวช . สืบค้นจาก
http://www.dmh.go.th/report/datacenter/map/

อุษา น่วมเพชร อุ่นจิตร คุณารักษ์ และวิดาวรรณ จำปา. (2559). กลุ่มโรควิตกกังวล กลุ่มโรคย้ำคิดย้ำทำและโรคอื่นที่เกี่ยวข้อง และกลุ่มโรคความผิดปกติทางจิตใจที่เกี่ยวข้องกับความเครียดหรือเหตุการณ์สะเทือนใจกับการบำบัดทางการพยาบาล ใน สายฝน เอกวรางกูร (บรรณาธิการ), การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต:ศาสตร์และศิลป์สู่การปฏิบัติ 1. (พิมพ์ครั้งที่ 3, หน้า 303-343). นครศรีธรรมราช: ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.

American Psychiatric Association. (2013). Diagnostic and statistical manual of mental disorders (5th ed.). Arlington, VA: American Psychiatric Publishing.

Bandelow, B., Sher, L., Bunevicius, R., Hollander, E., Kasper, S., Zohar, J. & Möller, H.J. (2012). Guidelines for the pharmacological treatment of anxiety disorders, obsessive-compulsive disorder and posttraumatic stress disorder in primary care. International Journal of Psychiatry in Clinical Practice,16 (2), 77–84.

Beck., J.S. (2011). Cognitive Behavior Therapy: Basics and Beyond. (2nd ed.). New York: The Guilford Publication.

Behar, E., DiMarco, I. D., Hekler, E.B., Mohlman, J. & Staples, A.M. (2009). Current theoretical models of generalized anxiety disorder (GAD): conceptual review and treatment implications. Journal of Anxiety Disorders, 23, 1011-1023.

Bolognesi,F., Baldwin, D.S., & Ruini, C. (2014). Psychological interventions in the treatment of generalized anxiety disorder: a structured review. Journal of Psychopathology, 20 :111-126

Hunot, V., Churchill, R., Silva de Lima, M., et al. (2007). Psychological therapies for generalised anxiety disorder. (Review). Cochrane Database Syst Rev,1. (CD001848)

Masters, K. (2012). Nursing theories: A framework for professional practice. (pp. 69-70). Sudbury, MA: Jones & Bartlett Learning.

Morh, W.K. (2009). Neuroscience : Biology and Behavior. In W.K.Mohr (Ed.), Psychiatric Mental Health Nursing: Evidence-Based Concepts, Skill, and Practice. (pp.21-39). Philadelphia : Lippincott William & Wilkins.

Sadock, B.J., & Sandock, V.A. (2008). Kaplan and Sadock’s Concise textbook of Clinical Psychiatry. (3th ed., pp.263-267). Philadelphia : Lippincott William & Wilkins.

Schuldt, W. (2012). The Cognitive Behavioral Model. Retrieved from http://www.therapistaid.com/therapy-guides.

Siev, J. & Chambless, D.L. (2007). Specificity of treatment effects: cognitive therapy and relaxation for generalized anxiety and panic disorders. Journal Consult Clinical Psychological, 75(4), 513-522.

Stuart, G.W. (2013). Principle and Practice of Psychiatric Nursing. (10th ed.). Missouri : Mosby.

WHO. (2016). Depression and other common Mental Disorders : Global Health Estimates. Geneva : WHO Document Production Services.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-27