การส่งเสริมการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิของคนพิการ
คำสำคัญ:
คนพิการ, การเข้าถึงระบบบริการสุขภาพบทคัดย่อ
คนพิการเป็นบุคคลกลุ่มหนึ่งที่ควรได้รับสิทธิขั้นพื้นฐานเท่าเทียมกับประชาชนทั่วไปอย่างไรก็ตามข้อจำกัดหลายอย่างที่ทำให้คนกลุ่มนี้มีไม่สามารถเข้าถึงระบบบริการสุขภาพเช่นคนปกติทั่วไป ดังนั้นจึงเป็นหน้าที่ของทุกคนในสังคมที่ต้องช่วยกันในการพัฒนาแนวทางที่จะส่งเสริมการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพสำหรับคนพิการ ทั้งนี้แนวทางที่ควรดำเนินการ ได้แก่ การปรับทัศนคติของคนพิการต่อสถานบริการสุขภาพ การสร้างเครือข่ายทางสังคมเพื่อช่วยเหลือคนพิการ การช่วยเหลือให้คนพิการมีรายได้ การช่วยเหลือในการเดินทางไปใช้บริการสุขภาพ และรวมทั้งการพิจารณาบริการเชิงรุกให้คนพิการสามารถเข้าถึงระบบบริการสุขภาพได้สะดวกมากขึ้น
References
คณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ. (2550). แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2550-2554. กรุงเทพฯ: ศรีเมืองการพิมพ์.
ชฎาพร เยาว์เจริญสุข. (2550). คนพิการกับการเข้าถึงการบริการสุขภาพในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า กรณีศึกษาเขตเทศบาลเมือง อำเมือง จังหวัดพิจิตร. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ชูชัย ศุภวงศ์, สมศักดิ์ ชุญหรัศมิ์, ศุภกิจ ศิริลักษณ์, ลัดดา ดาริกาเลิศ, สุพัตรา ศรีณิชาการเลิศ และเกษม เวชสุทธานนท์. (บรรณาธิการ). (2552). คู่มือการให้บริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
ดารารัตน์ ทิพย์วงศ์. (2551). ปัญหาและความต้องการในการได้รับสวัสดิการความช่วยเหลือจากภาครัฐของผู้พิการในอำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน. การค้นคว้าอิสระ สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ปรีดา สังสว่าง. (2554). กลยุทธ์การพัฒนาบริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการของสถานีอนามัยในจังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการบริหารสาธารณสุข, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล.
พนมเทียน พรหมณี. (2550). การพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขในการดูแลคนพิการในชุมชนเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการบริหารและนโยบายสวัสดิการสังคม, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ. (2550). สืบค้นเมื่อ 21 พฤศจิกายน 2560, จาก http://www.nep.go.th/Upload/modLaw/179.pdf.
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ. (2550). สืบค้นเมื่อ 21 พฤศจิกายน 2560, จาก http://www.moph.go.th/hot/national_health_50.pdf.
พิลือ เขียวแก้ว. (2552). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเข้าบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิของคนพิการ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการจัดการระบบสุขภาพ, บัณฑิตวิทยาลัย,
มหาวิทยาลัยทักษิณ.
ภัทราพร เส็งแดง และวิกานดา ร่างเจริญ. (2550). การเข้าถึงและความเป็นธรรมในการเข้ารับบริการสุขภาพของผู้พิการในศูนย์สุขภาพชุมชน อำเภอลาดยาว จังหวัดนครสวรรค์. วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตร มหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยนเรศวร.
มูลนิธิพัฒนาคนพิการไทย. (2550). คู่มืออาสาสมัครเพื่อคนพิการ. นนทบุรี: โรงพิมพ์ยิ้มสู้ของมูลนิธิคนพิการไทย (โดยคนพิการ).
รัชนี สรรเสริญ และคณะ. (2555). การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชน: กลยุทธ์หลักเพื่อคนพิการ. วารสารการพยาบาลและการศึกษา, 5(1), 22-30.
ลัดดา ดำริการเลิศ. (บรรณาธิการ). (2553). การจัดการความรู้ และสังเคราะห์แนวทางปฏิบัติของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล. กรุงเทพฯ: สหมิตรพริ้นติ้งแอนพับลิสซิ่ง.
วิสัน สุคะมะโน. (2555). การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชน(CBR). สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2557, จาก http://www.sdpa.or.th/web/index.php/home/51-2011-05-17-12-04-02/643cbr-.html.
ศิริลักษณ์ มาปง. (2551). การเข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรถภาพของคนพิการภายหลังการจดทะเบียนคนพิการ ศึกษาเฉพาะศูนย์บริการจดทะเบียนคนพิการแบบเบ็ดเสร็จ โรงพยาบาลสระบุรี. วิทยานิพนธ์สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาบริหารและนโยบายสวัสดิการสังคม, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล
สำนักสถิติแห่งชาติ. (2550). การสำรวจประชากรคนพิการ. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2560, จาก http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/citizen/news/news_disabled.jsp
สำนักส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ. (2556). สถิติคนพิการ. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2560, จาก http://nep.go.th/
สุพัตรา ศรีวณิชชากร. (2552). สาธารณสุขมูลฐาน ระบบบริการปฐมภูมิ และเวชศาสตร์ครอบครัว. วารสารปฐมภูมิ. สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2560, จาก htt://www.thaiichr.org.
สุรเกียรติ อาชานุภาพ. (2554). มุมมองและประสบการณ์ การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ: ในทศวรรษแรกแห่งนโยบายหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. กรุงเทพฯ : หมอชาวบ้าน.
อาภาภรณ์ พรหมโท. (2551). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อมุมมองการฟื้นฟูสมรรถภาพของคนพิการทางกายภาพในเขตเทศบาลนครอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี. วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารสาธารณสุข, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
Girma, F., Jira, C., & Girma, B. (2011). Health service utilization and associated factors in Jimma zone, South West Ethiopia. Ethiopian Journal health Sciences, Special (20), 91-100
Kroll, T., Jones, G.C., Kehn, M., & Neri, M.T. (2012). Barrier and strategies affecting the utilization of primary preventive services for people with physical disabilities: A qualitative inquiry. Health and Social Care in the Community, 14(4): 284-293.
Kung P.T., Tsi W.C., & Li Y.H. ( 2012). Determining factors for utilization of preventive health service among adults with disabilities in Taiwan. Research in Developmental
Disabilities, 33(1), 205-213.
Maart, S., & Jelsma, J. (2014). Disability and access to health care - a community base descriptive study. Disability and Rehabilitation, 36(18),1489-93.
Nathan, D.G. (2013). The relation of social network and health service demand. [Electronic version]. Retrieved October 19, 2015, from http://www.sole-
jole.org/14435.pdf.
World Health Organization. (2005). Disability and rehabilitation WHO action plan 2006-2011. Geneva: WHO.
World Health Organization, & The World Bank. (2011). World report on disability. Retrieved April 30, 2014, from http://www.who.int/disabilities/world_report/2011/report/en/
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในราชาวดีสาร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในราชาวดีสาร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่หรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากราชาวดีสาร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์ ก่อนเท่านั้น