ภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์:
บทบาทพยาบาลกับการดูแล
คำสำคัญ:
ภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์, บทบาทพยาบาลกับการดูแลบทคัดย่อ
ภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายและความผิดปกติของการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรตทำให้น้ำตาลในกระแสเลือดสูง ส่งผลผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ เช่น ความดันโลหิตสูง ติดเชื้อ คลอดยาก ตกเลือดหลังคลอด แท้ง ทารกเสียชีวิตในครรภ์ และทารกพิการแต่กำเนิด อย่างไรก็ตามหญิงตั้งครรภ์สามารถป้องกันภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ได้ โดยการควบคุมระดับน้ำตาลในกระแสเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติด้วยวิธีการควบคุมอาหารและการออกกำลังกายอย่างเหมาะสม ซึ่งเป็นวิธีที่สำคัญที่จะช่วยให้หญิงตั้งครรภ์สามารถตั้งครรภ์ได้อย่างปลอดภัย พยาบาลผดุงครรภ์เป็นบุคคลากรที่ได้รับการฝึกฝนในการให้คำแนะนำ การดูแลอย่างมืออาชีพในการดูแลหญิงขณะตั้งครรภ์ ขณะคลอด และหลังคลอด ซึ่งมีวิธีการที่จะช่วยดูแลหญิงตั้งครรภ์ เช่น การโน้มน้าวชักจูงให้เปลี่ยนพฤติกรรม การส่งเสริมสมรรถนะแห่งตน การมีส่วนร่วมของครอบครัวในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ และการสนับสนุนการควบคุมตนเองของหญิงตั้งครรภ์ ซึ่งวิธีการเหล่านี้จะช่วยให้หญิงตั้งครรภ์ประสบความสำเร็จในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนในขณะตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอด ตลอดจนมีคุณภาพชีวิตที่ดี และเป็นการลดภาวะเสี่ยงต่อการเป็นเบาหวานหลังคลอดอีกด้วย
References
นันทพร แสนศิริพันธ์. (2555). การพยาบาลสตรีที่มีภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกรรม. ใน นันทพร แสนศิริพันธ์และฉวี เบาทรวง (บรรณาธิการ), การพยาบาลผดุงครรภ์เล่ม 3 สตรีที่มีภาวะแทรกซ้อน (หน้า 59-71). เชียงใหม่: ครองช่างพริ้นติ่ง.
ประเสริฐ ศันสนีย์วิทยกุล และนลัท สมภักดี. (2560). โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์. ใน ประภัทร วานิชพงษ์พันธุ์, กุศล รัศมีเจริญ และตรีภพ เลิศบรรณพงษ์ (บรรณาธิการ), ตำราสูติศาสตร์ (หน้า 152-165). กรุงเทพฯ: พี เอ ลีฟวิ่ง.
พัทธนันท์ ศรีม่วง. (2555). อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด. กรุงเทพมหานคร: เอ็ม แอนด์ เอ็ม เลเซอร์ พริ้นต์.
มณีภรณ์ โสมานุสรณ์. (2555). การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่เป็นโรคเบาหวาน. ใน ศรีเกียรติ อนันต์สวัสดี(บรรณาธิการ), การพยาบาลสูติศาสตร์เล่ม 3 (พิมพ์ครั้งที่ 12, หน้า 60-91). นนทบุรี: ยุทธรินทร์.
ราตรี พลเยี่ยม และสมพร วัฒนนุกูลเกียรติ. (2559). ผลของโปรแกรมการให้ความรู้อย่างมีแบบแผนตามความเชื่อด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อโรคเบาหวานในระยะตั้งครรภ์. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา, 22(1), 77-92.
วลัยลักษณ์ สุวรรณภักดี, สุนันทา ยังวนิชเศรษฐ และโสเพ็ญ ชูนวล. (2562). ผลของโปรแกรมส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการรับประทานอาหารและการออกกำลังกายของหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นเบาหวาน. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 6(1), 39-50.
สุนันทา ยังวนิชเศรษฐ. (2559). การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่เป็นเบาหวาน. กรุงเทพ: สหมิตรพัฒนา.
สุวิสา ปานเกษม. (2556). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนและการสนับสนุนทางสังคมต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายของหญิงมีครรภ์. วารสารพยาบาลทหารบก, 14(2), 35-47.
อิชยา มอญแสง. (2552). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายของหญิงตั้งครรภ์. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการผดุงครรภ์ขั้นสูง, คณะพยาบาลศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.
American Diabetes Association. (2016). Standards of medical care in diabetes 2014. Diabetes Care, 39 (Suppl.1), s94-s98.
Gilbert, E. S. (2011). High risk pregnancy & delivery. (5th ed.). United States of America: Book Aid International.
Ostbye, T., Peterson, B. L., Krause, K. M., Swamy, G. K., & Lovelady, C. A. (2012). Predictors of postpartum weight change among overweight and obese women: Results from the active mothers postpartum study. Journal of Women’s Health, 21, 215-222.
Poth, M., & Carolan, M. (2013). Pregnant women’s knowledge about the prevention of gestational diabetes mellitus: A qualitative study. British Journal of Midwifery, 21, 692-701.
Sonja, B. R., Lucie, M., Jocelyne, C., & Evelyne, R. (2012). Pregnancy outcomes in women with and without gestational diabetes mellitus according to the international association of the diabetes and pregnancy study groups criteria. Obstetrics and Gynecology, 120, 746-752.
Thornton, P. L., Kieffer, E. C., Salabarria-Pena, Y., Odoms-Young, A., Willis, S. K., Kim, H., & Salinas, M. A. (2006). Weight, diet, and physical activity-related beliefs and practices among pregnant and postpartum Latino women: the role of social support. Maternal and Child Health Journal, 10, 95-104.
Warunpitikul, R., Aswakul, O. (2014). The incidence of diabetes mellitus in pregnant women and its outcomes between pregnant women with diabetes mellitus and non-diabetes mellitus at Maharat Nakhon Ratchasima hospital. Thai Journal of Obstetrics and Gynecology, 22, 81-87.
Youngwanichsetha, S., Phumdoung, S., & Ingkathawornwong, T. (2014). The effects of mindfulness eating and yoga exercise on blood sugar levels of pregnant women with gestational diabetes mellitus. Applied Nursing Research, 27, 227-230.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในราชาวดีสาร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในราชาวดีสาร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่หรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากราชาวดีสาร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์ ก่อนเท่านั้น