ศึกษาความสุขและความพึงพอใจในการทำงานของบุคลากรพยาบาลสถาบันบำราศนราดูร
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาความสุขและความพึงพอใจในการทำงานของบุคลากรพยาบาลสถาบันบำราศนราดูรที่ปฏิบัติงานอย่างน้อย 1 ปีจำนวน 143 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ผลการศึกษา ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความสุขในการทำงานของพยาบาลพบว่า ตำแหน่งในการปฏิบัติงานและรายได้มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในการทำงานของพยาบาลพบว่าวุฒิการศึกษาและตำแหน่งในการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ผู้บริหาร ผู้บังคับบัญชา ควรให้การสนับสนุนบุคลากรพยาบาลในด้านความก้าวหน้า ความสำเร็จในงานและด้านสวัสดิการเพื่อเพิ่มความสุขและความพึงพอใจในการทำงานมากยิ่งขึ้น
Article Details
How to Cite
บท
บทความวิจัย
References
1. Manion J. Joy at work: As experienced, As expressed. Doctor of Philosophy inHuman and Organizational systems. University of Michigan; 2003.
2. Moos RH. Work environment scale manual. 2nd ed. Palo Alto, CA: Consulting Psychologists; 1986.
3. กัลยารัตน์ อ๋องคณา. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลการรับรู้คุณค่าในตนเองสภาพแวดล้อมในงานกับความสุขในการทำงานของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลเอกชนเขตกรุงเทพฯ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2549.
4. รพีพรรณ สุกัณศีล. ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในงาน และความผูกพันต่อองค์การกับความตั้งใจที่จะลาออกจากงาน: กรณีศึกษา บริษัท นิ่มซี่เส็งขนส่ง 1988 จำกัด. กรุงเทพฯ; 2551.
5. บุญชม ศรีสะอาด. วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัยเล่ม2. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สุรีวิยาสาส์น; 2538.
6. ประคอง กรรณสูตร. สถิติเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2542.
7. จงจิต เลิศวิบูลย์มงคล. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลการได้รับการเสริมสร้างพลังอำนาจในงานแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์กับความสุขในการทำงานของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2546.
8. พรรณิภา สืบสุข. ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้คุณลักษณะงาน ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับความสุขในการทำงานของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; 2548.
9. Smith Hery C, Wakeley John H. Psychology of Industrial Behavior. 3rd ed. New York: McGraw-Hill Book; 1972.
10. Gilmer, Beverly von Haller. Industrial Psychology. 2nd ed. New York: McGraw-Hill Book; 1966.
2. Moos RH. Work environment scale manual. 2nd ed. Palo Alto, CA: Consulting Psychologists; 1986.
3. กัลยารัตน์ อ๋องคณา. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลการรับรู้คุณค่าในตนเองสภาพแวดล้อมในงานกับความสุขในการทำงานของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลเอกชนเขตกรุงเทพฯ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2549.
4. รพีพรรณ สุกัณศีล. ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในงาน และความผูกพันต่อองค์การกับความตั้งใจที่จะลาออกจากงาน: กรณีศึกษา บริษัท นิ่มซี่เส็งขนส่ง 1988 จำกัด. กรุงเทพฯ; 2551.
5. บุญชม ศรีสะอาด. วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัยเล่ม2. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สุรีวิยาสาส์น; 2538.
6. ประคอง กรรณสูตร. สถิติเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2542.
7. จงจิต เลิศวิบูลย์มงคล. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลการได้รับการเสริมสร้างพลังอำนาจในงานแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์กับความสุขในการทำงานของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2546.
8. พรรณิภา สืบสุข. ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้คุณลักษณะงาน ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับความสุขในการทำงานของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; 2548.
9. Smith Hery C, Wakeley John H. Psychology of Industrial Behavior. 3rd ed. New York: McGraw-Hill Book; 1972.
10. Gilmer, Beverly von Haller. Industrial Psychology. 2nd ed. New York: McGraw-Hill Book; 1966.