โปรแกรมโภชนบำบัดเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารในกลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีวัยรุ่น อายุ 12-18 ปี
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้เป็นการศึกษากึ่งทดลองแบบหนึ่งกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมโภชนบำบัดเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารในกลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีวัยรุ่น อายุ 12-18 ปี ตัวอย่างจำนวน 30 คน ตัวอย่างได้รับกิจกรรมโภชนบำบัดรายบุคคลทั้งหมด 5 ครั้ง ใช้ระยะเวลาศึกษาทั้งสิ้น 24 เดือน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกสุขภาพของผู้ป่วย แบบสอบถามความรู้และพฤติกรรมการบริโภคอาหาร วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยความถี่ ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ Paired sample t-test การวิจัยนี้เป็นการศึกษากึ่งทดลองแบบหนึ่งกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมโภชนบำบัดเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารในกลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีวัยรุ่น อายุ 12-18 ปี ตัวอย่างจำนวน 30 คน ตัวอย่างได้รับกิจกรรมโภชนบำบัดรายบุคคลทั้งหมด 5 ครั้ง ใช้ระยะเวลาศึกษาทั้งสิ้น 24 เดือน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกสุขภาพของผู้ป่วย แบบสอบถามความรู้และพฤติกรรมการบริโภคอาหาร วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยความถี่ ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ Paired sample t-test
ผลการศึกษาพบว่า ภายหลังการทดลองกลุ่มตัวอย่างมีการเปลี่ยนแปลงความรู้ และพฤติกรรมการบริโภคอาหารดีกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) ระดับไขมันโคเลสเตอรอลลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.001) ส่วนระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ลดลงอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value > 0.05) อย่างไรก็ตามโปรแกรมนี้ยังจำเป็นต้องศึกษาซ้ำในการวิจัยครั้งต่อไปยืนยันประสิทธิผลของโปรแกรมและการนำไปใช้ในกลุ่มเป้าหมายที่กว้างขึ้น ดังนั้นบุคลากรทางสาธารณสุขสามารถประยุกต์ใช้โปรแกรมในการส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนบำบัดในสถานพยาบาล
ผลการศึกษาพบว่า ภายหลังการทดลองกลุ่มตัวอย่างมีการเปลี่ยนแปลงความรู้ และพฤติกรรมการบริโภคอาหารดีกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) ระดับไขมันโคเลสเตอรอลลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.001) ส่วนระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ลดลงอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value > 0.05) อย่างไรก็ตามโปรแกรมนี้ยังจำเป็นต้องศึกษาซ้ำในการวิจัยครั้งต่อไปยืนยันประสิทธิผลของโปรแกรมและการนำไปใช้ในกลุ่มเป้าหมายที่กว้างขึ้น ดังนั้นบุคลากรทางสาธารณสุขสามารถประยุกต์ใช้โปรแกรมในการส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนบำบัดในสถานพยาบาล
Article Details
How to Cite
บท
บทความวิจัย
References
1. คณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์. ยุทธศาสตร์แห่งชาติว่าด้วยการยุติปัญหาเอดส์ พ.ศ. 2560-2573 [อินเตอร์เน็ต]. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 1 พฤษภาคม 2560]. เข้าถึงได้จาก: http://www.aidssti.ddc.moph.go.th/home
2. World Health Organization (WHO). HIV/AIDS [internet]. 2017 [cited 2018 Oct 19]. Available from: http://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/hiv-aids
3. Hsu JW-C, Pencharz PB, Macallan D, Tomkins A. Macronutrients and HIV/AIDS: a review of current evidence. World Health Organization, 2005. Consultation on Nutrition and HIV/AIDS in Africa. Evidence, lessons and recommendations for action. Durban, South Africa, 10-13 April 2005.
4. Pujari SN, Dravid A, Nail E, Bhagat S, Tash K, Nadler JP, et al. Lipodystrophy and dyslipidemia among patients taking first-line, World Health Organization-recommended highly active antiretroviral therapy regimens in Western India. J Acquir Immune Defic Syndr 2005; 39(2): 199-202.
5. Chuapai Y, Kiertiburanakul S, Malathum K, Sungkanuparph S. Lipodystrophy and dyslipidemia in human immunodeficiency virus-infected Thai patients receiving antiretroviral therapy. J Med Assoc Thai 2007; 90(3): 7-10.
6. Manuthu EM, Joshi MD, Lule GN, Karari E. Prevalence of dyslipidemia and dysglycaemia in HIV infected patients. East Afr Med J 2008; 85(1): 7-10.
7. Buchacz K, Weidle PJ, Moore D, Were W, Mermin J, Downing R, et al. Changes in lipid profile over 24 months among adults on first-line highly active antiretroviral therapy in the home based AIDS care program in rural Uganda. J Acquir Immune Defic Syndr 2008; 47(3):11-30.
8. Moyle GJ, Baldwin C. Lipid elevations during non-nucleoside RTI (NNRTI) therapy: a cross sectional analysis. Antiviral Ther 1999: 4-58.
9. Gallent JE, Staszewski S, Pozniak AL, Dejesus E, Suleiman J, Miller M, et al. Efficacy and safety of tenofovir DF vs stavudine in combination therapy in antiretroviral-naïve patients. JAMA 2004; (292): 191-201.
10. Fontas E, van Leth F, Sabin CA, Friis-Moller N, Rickenbach M, d’Arminio A, et al. Lipid profiles in HIV-infected patients receiving combination antiretroviral therapy: are different antiretroviral drugs associated with different lipid profiles? JID 2004; (189): 1056-74.
11. Thiebaut R, Daucourt V, Mercie P, Ekouevi Dk, Malvy D, MorlatP, et al. Lipodystrophy, metabolic disorders, and human immunodeficiency virus infection: Aquitaine Cohort, France, 1999. Clin Infect Dis 2000; 31: 1482-7.
12. Hiransuthikul N, HiransuthikulP, Kanasook Y. Lipid profiles of Thai adult HIV-infected patients receiving protease inhibitors. SE Asian J Trop Med 2007; 38(1): 69-77.
13. Anastos K, Lu D, Shi Q, Tien PC, Kaplan RC, Hessol NA, et al. Association of serum lipid levels with HIV serostatus, specific antiretroviral agents and treatment regimens. J Acquir Immune Defic Syndr 2007; 45(1): 34-42.
14. Taylor P, Worrell C, Steinberg SM, Hazra R, Jankelevich S,Wood LV, et al. Natural history of lipid abnormalities and fat redistribution among human immunodeficiency virus-infected children receiving long-term, protease inhibitor containing, highly active antiretroviral therapy regimens. Pediatrics 2004; (114): e235-42.
15. Friis-Moller N, Weber R, Reiss P, thiebaut R, Kirek O, d’Arminio Monforte A, et al. Cardiovascular disease risk factors in HIV patients association with antiretroviral therapy: result from DAD study. AIDS 2003; 17: 1179-93.
16. รุจนี สุนทรขจิต, ดวงมณี สุวรรณมาศ, รัชนี เชื้อเทศ, บุษกร สันติสุขลาภผล, นฤภัค บุญญฤทธิภัทร์. อุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงของภาวะไขมันในเลือดผิดปกติในเด็กติดเชื้อเอชไอวีที่ได้รับยาต้านไวรัส. วารสารควบคุมโรค 2551; 34(4): 461-7.
17. Lapphra K, Vanprapar N, Phongsamart W, Chearskul P, Chokephaibulkit K. Dyslipidemia and lipodystrophy in HIV infected Thai children on highly active antiretroviral therapy (HAART). J Med Assoc Thai 2005; 88(7): 956-66.
18. Academy of Nutrition and Dietetics. HIV/AIDS (H/V) Guideline Evidence Analysis Library [internet]. 2010 [cited 2016 Oct 1]. Available from: http://andeal.org/topic.cfm?menu= 5312&cat=4458]
19. ภัทรานุช พิทักษา, สุปรียา ตันสกุล, ขวัญเมือง แก้วดำเกิง, ปิยะธิดา ขจรชัยกุล. ผลของโปรแกรมสุขศึกษาในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จังหวัดบุรีรัมย์. วารสารสุขศึกษา 2557; 37(126): 66-81.
20. สุวรรณา บุญยะลีพรรณ และคณะ. พฤติกรรมสุขภาพผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์วัยแรงงานที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอชไอวีในโรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่ง. วารสารพยาบาล 2556; 40 (ฉบับ พิเศษ): 1-13.
21. ธวัชชัย วรพงศธร. หลักการวิจัยทางสาธารณสุขศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2540.
22. พัชราภรณ์ อารีย์ และคณะ. ผลของรูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินต่อระดับไขมันและน้ำตาลในเลือดสตรีที่มีภาวะไขมันในเลือดสูง. วารสารพยาบาล 2556; 40 (ฉบับพิเศษ): 14-22.
23. บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. เทคนิคการสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูลสำหรับการวิจัย. กรุงเทพฯ: จารมจุรี; 2549.
24. อลงกต สิงห์โต, อุไรภรณ์ บูรณสุขสกุล, นริศา เรืองศรี. ประสิทธิภาพของ Therapeutic Lifestyle Change Diet เพื่อส่งเสริมภาวะไขมันในเลือดในผู้ติดเชื้อเอชไอวี. J Med Health Sci 2561; 25(1): 93-105.
2. World Health Organization (WHO). HIV/AIDS [internet]. 2017 [cited 2018 Oct 19]. Available from: http://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/hiv-aids
3. Hsu JW-C, Pencharz PB, Macallan D, Tomkins A. Macronutrients and HIV/AIDS: a review of current evidence. World Health Organization, 2005. Consultation on Nutrition and HIV/AIDS in Africa. Evidence, lessons and recommendations for action. Durban, South Africa, 10-13 April 2005.
4. Pujari SN, Dravid A, Nail E, Bhagat S, Tash K, Nadler JP, et al. Lipodystrophy and dyslipidemia among patients taking first-line, World Health Organization-recommended highly active antiretroviral therapy regimens in Western India. J Acquir Immune Defic Syndr 2005; 39(2): 199-202.
5. Chuapai Y, Kiertiburanakul S, Malathum K, Sungkanuparph S. Lipodystrophy and dyslipidemia in human immunodeficiency virus-infected Thai patients receiving antiretroviral therapy. J Med Assoc Thai 2007; 90(3): 7-10.
6. Manuthu EM, Joshi MD, Lule GN, Karari E. Prevalence of dyslipidemia and dysglycaemia in HIV infected patients. East Afr Med J 2008; 85(1): 7-10.
7. Buchacz K, Weidle PJ, Moore D, Were W, Mermin J, Downing R, et al. Changes in lipid profile over 24 months among adults on first-line highly active antiretroviral therapy in the home based AIDS care program in rural Uganda. J Acquir Immune Defic Syndr 2008; 47(3):11-30.
8. Moyle GJ, Baldwin C. Lipid elevations during non-nucleoside RTI (NNRTI) therapy: a cross sectional analysis. Antiviral Ther 1999: 4-58.
9. Gallent JE, Staszewski S, Pozniak AL, Dejesus E, Suleiman J, Miller M, et al. Efficacy and safety of tenofovir DF vs stavudine in combination therapy in antiretroviral-naïve patients. JAMA 2004; (292): 191-201.
10. Fontas E, van Leth F, Sabin CA, Friis-Moller N, Rickenbach M, d’Arminio A, et al. Lipid profiles in HIV-infected patients receiving combination antiretroviral therapy: are different antiretroviral drugs associated with different lipid profiles? JID 2004; (189): 1056-74.
11. Thiebaut R, Daucourt V, Mercie P, Ekouevi Dk, Malvy D, MorlatP, et al. Lipodystrophy, metabolic disorders, and human immunodeficiency virus infection: Aquitaine Cohort, France, 1999. Clin Infect Dis 2000; 31: 1482-7.
12. Hiransuthikul N, HiransuthikulP, Kanasook Y. Lipid profiles of Thai adult HIV-infected patients receiving protease inhibitors. SE Asian J Trop Med 2007; 38(1): 69-77.
13. Anastos K, Lu D, Shi Q, Tien PC, Kaplan RC, Hessol NA, et al. Association of serum lipid levels with HIV serostatus, specific antiretroviral agents and treatment regimens. J Acquir Immune Defic Syndr 2007; 45(1): 34-42.
14. Taylor P, Worrell C, Steinberg SM, Hazra R, Jankelevich S,Wood LV, et al. Natural history of lipid abnormalities and fat redistribution among human immunodeficiency virus-infected children receiving long-term, protease inhibitor containing, highly active antiretroviral therapy regimens. Pediatrics 2004; (114): e235-42.
15. Friis-Moller N, Weber R, Reiss P, thiebaut R, Kirek O, d’Arminio Monforte A, et al. Cardiovascular disease risk factors in HIV patients association with antiretroviral therapy: result from DAD study. AIDS 2003; 17: 1179-93.
16. รุจนี สุนทรขจิต, ดวงมณี สุวรรณมาศ, รัชนี เชื้อเทศ, บุษกร สันติสุขลาภผล, นฤภัค บุญญฤทธิภัทร์. อุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงของภาวะไขมันในเลือดผิดปกติในเด็กติดเชื้อเอชไอวีที่ได้รับยาต้านไวรัส. วารสารควบคุมโรค 2551; 34(4): 461-7.
17. Lapphra K, Vanprapar N, Phongsamart W, Chearskul P, Chokephaibulkit K. Dyslipidemia and lipodystrophy in HIV infected Thai children on highly active antiretroviral therapy (HAART). J Med Assoc Thai 2005; 88(7): 956-66.
18. Academy of Nutrition and Dietetics. HIV/AIDS (H/V) Guideline Evidence Analysis Library [internet]. 2010 [cited 2016 Oct 1]. Available from: http://andeal.org/topic.cfm?menu= 5312&cat=4458]
19. ภัทรานุช พิทักษา, สุปรียา ตันสกุล, ขวัญเมือง แก้วดำเกิง, ปิยะธิดา ขจรชัยกุล. ผลของโปรแกรมสุขศึกษาในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จังหวัดบุรีรัมย์. วารสารสุขศึกษา 2557; 37(126): 66-81.
20. สุวรรณา บุญยะลีพรรณ และคณะ. พฤติกรรมสุขภาพผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์วัยแรงงานที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอชไอวีในโรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่ง. วารสารพยาบาล 2556; 40 (ฉบับ พิเศษ): 1-13.
21. ธวัชชัย วรพงศธร. หลักการวิจัยทางสาธารณสุขศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2540.
22. พัชราภรณ์ อารีย์ และคณะ. ผลของรูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินต่อระดับไขมันและน้ำตาลในเลือดสตรีที่มีภาวะไขมันในเลือดสูง. วารสารพยาบาล 2556; 40 (ฉบับพิเศษ): 14-22.
23. บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. เทคนิคการสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูลสำหรับการวิจัย. กรุงเทพฯ: จารมจุรี; 2549.
24. อลงกต สิงห์โต, อุไรภรณ์ บูรณสุขสกุล, นริศา เรืองศรี. ประสิทธิภาพของ Therapeutic Lifestyle Change Diet เพื่อส่งเสริมภาวะไขมันในเลือดในผู้ติดเชื้อเอชไอวี. J Med Health Sci 2561; 25(1): 93-105.