ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี

Main Article Content

ยศธการ ศรีเนตร
วรรณศรี แววงาม

บทคัดย่อ

ความรอบรู้สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ด้านสุขภาพสำหรับผู้ป่วยเบาหวานเป็นสิ่งสำคัญ ช่วยให้สามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกวิธี ลดความการเกิดภาวะแทรกซ้อนในอนาคต การศึกษานี้เป็นการวิเคราะห์เชิงภาคตัดขวาง เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 219 คน สุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ทดสอบความสัมพันธ์โดยใช้ Multiple logistic regression


ผลการวิจัยพบว่า ร้อยละ 43.84 ของกลุ่มตัวอย่างไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ (HbA1c ≥ 7%) มีความรอบรู้สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ด้านสุขภาพในระดับพอใช้ได้ ร้อยละ 47.49 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้แก่ ความรอบรู้สารสนเทศด้านสุขภาพระดับพอใช้หรือต่ำ (ORadj: 2.19, 95% CI: 1.05 to 4.56), อายุ 65 ปีขึ้นไป (ORadj: 2.20, 95% CI: 1.01 to 4.80), อาชีพ (ORadj: 2.21, 95% CI: 1.04 to 4.68), ระดับการศึกษาต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น (ORadj: 2.47, 95% CI: 1.28 to 4.77), และระยะเวลาการเป็นโรค 10 ปีขึ้นไป (ORadj: 3.20, 95% CI: 1.56 to 6.57)


ดังนั้นควรส่งเสริมทักษะความรอบรู้สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ด้านสุขภาพ ให้ผู้ป่วยได้ค้นหา ประเมิน และประยุกต์ใช้ข้อมูลจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการดูแลสุขภาพตนเองต่อไป

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมอนามัย. (2565, 8 กันยายน). แบบประเมินความรอบรู้สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ด้านสุขภาพ (eHealth Literacy Questionnaire). สื่อมัลติมีเดียกรมอนามัย, https://multimedia.anamai.moph.go.th/ infographics/ehealth-literacy-questionnaire/.

กระทรวงสาธารณสุข. (2567, 27 พฤษภาคม). การประชุมมอบนโยบายกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2567 - 2568. https://moph.cc/ordp-moph.

กระทรวงสาธารณสุข, กรมควบคุมโรค, กองโรคไม่ติดต่อ. (2565). รายงานประจำปี 2565 กองโรคไม่ติดต่อ. https://online.fliphtml5.com/hvpvl/evzj/.

กระทรวงสาธารณสุข, กรมควบคุมโรค, กองโรคไม่ติดต่อ. (2565). รายงานสถานการณ์ผลกระทบจากการระบาดของโรคโควิด-19 ต่อโรคไม่ติดต่อและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในประเทศไทย. ศูนย์ข้อมูลข่าวสารด้านเวชภัณฑ์ กระทรวงสาธารณสุข, https://dmsic.moph.go.th/index/detail/9105.

กานต์ชนก สุทธิผล. (2565). ปัจจัยที่มีผลต่อการคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ศูนย์สุขภาพชุมชนประชานุเคราะห์ โรงพยาบาลราชบุรี. มหาราชนครศรีธรรมราชเวชสาร, 5(2), 1-12.

กุลพงษ์ ชัยนาม. (2563). การเปลี่ยนแปลงทางประสาทสัมผัสและการรับประทานอาหารในผู้สูงอายุ. วารสารโภชนบำบัด, 28(1), 64-74.

เจษฎากร เพิ่มพรทวีสุข และเนาวนิตย์ สงคราม. (2565). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อการรู้สารสนเทศ อิเล็กทรอนิกส์ด้านสุขภาพของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย. วารสารวิธีวิทยาการวิจัย, 35(2), 163-184.

ชนากานต์ สโมสร. (2566). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความรอบรู้สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ด้านสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วยนอก กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลชลบุรี. วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว, 6(3), 189-200.

ซูไฮนี ดอเลาะ และโนเยาฮารี สาและ. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา. วารสารโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ, 4(3), 27-30.

ธีรศักดิ์ พาจันทร์, กฤชกันทร สุวรรณพันธุ์, บุญสัน อนารัตน์ และนิรันดร์ ถาละคร. (2565). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9, 16(1), 285-298.

เนตรนภา อิ่มสำราญ, ธีรศักดิ์ พาจันทร์ และสุพัฒน์ อาสนะ. (2566). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ตามรูปแบบการให้บริการตามแนวปฏิบัติการแพทย์วิถีใหม่ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดบุรีรัมย์. วารสารมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล, 36(1), 1-18.

ปิยะวัน วงษ์บุญหนัก, ศศิวัณย์ อนันควานิช, ภาพิมล พวกสนิท และศิริพรรษา ไชยชัชวาล. (2566). ความสัมพันธ์ระหว่างการรู้เท่าทันสื่อสุขภาพออนไลน์และการจัดการตนเอง เพื่อป้องกันโควิด-19 ของประชากรในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสาร มฉก.วิชาการ, 27(1), 65-77.

พิชศาล พันธุ์วัฒนา. (2562). พฤติกรรมการบริโภคอาหารของคนเมืองวัยทำงานในกรุงเทพมหานคร. วารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น, 26(2), 93-103.

ยวิษฐา สุขวาสนะ, อรพินท์ สีขาว และทวีศักดิ์ กสิผล. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความรอบรู้ด้านสุขภาพ พฤติกรรมการดูแลตนเองกับการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. ราชาวดีสาร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์, 11(1), 52-65.

โรงพยาบาลมวกเหล็ก. (2567, 30 สิงหาคม). สรุปตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ระดับโรงพยาบาลประจำปี 2567. https://drive.google.com/file/d/1iRhckx6mCOARZFGroJDW9wN0WCo28SL8/view.

สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย. (2566). แนวทางปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2566. https://drive.google.com/file/d/1OAIDiCyGsJYA1-wTAxoOu6yL_YL9c7IG/view.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระบุรี. (2566, 6 สิงหาคม). ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนและมารับการรักษาต่อเนื่อง จังหวัดสระบุรี อำเภอมวกเหล็ก ปีงบประมาณ 2566. ระบบคลังข้อมูลด้านการแพทย์ Health Data Center (HDC), https://sri.hdc.moph.go.th/hdc/reports/report.php?cat_id= b2b59e64c4e6c92d4b1ec16a599d882b&id=e9fb648fe9f1858878714a410222eef1.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระบุรี. (2566, 6 สิงหาคม). ร้อยละผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี จังหวัดสระบุรี. ระบบคลังข้อมูลด้านการแพทย์ Health Data Center (HDC), https://sri.hdc.moph.go.th/hdc/reports/report.php?cat_id=b2b59e64c4e6c92d4b1ec16a599d882b&id=137a726340e4dfde7bbbc5d8aeee3ac3.

โสวณี มุกนพรัตน์ และนิชาพร ชูช่วย. (2567). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบึงบอน อำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี. วารสารวิจัย และนวัตกรรมทางสาธารณสุข, 2(1), 41-51.

อังศินันท์ อินทรกำแหง. (2560). การสร้างและพัฒนาเครื่องมือความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย. วารสารพยาบาลสาธารณสุข, 31(3), 1-18.

Abera, R. G., Demesse, E. S., & Boko, W. D. (2022). Evaluation of Glycemic Control and Related Factors among Outpatients with Type 2 Diabetes at Tikur Anbessa Specialized Hospital, Addis Ababa, Ethiopia: A Cross-Sectional Study. BMC Endocrine Disorders, 22(1), 1-11. https://doi.org/10.1186/s12902-022-00974-z.

Adebabay, A. A., Worede, A. G., Sume, B. W., Mihiret, G. T., Shimelash, R. A., & Goshu, B. T. (2023). Prevalence and Associated Factors of Foot Deformity among Adult Diabetic Patients on Follow-up at Debre Markos Comprehensive Specialized Hospital, Northwest Ethiopia, 2022, Cross-sectional Study. BMC Endocrine Disorders, 23(1), 1-10. https://doi.org/10.1186/s12902-023-01519-8.

Alemu, T., Tadesse, T., & Amogne, G. (2021). Glycemic Control and Its Determinants among Patients with Type 2 Diabetes Mellitus at Menelik II Referral Hospital. SAGE Open Medicine, 9, 1-8. https://doi.org/10.1177/20503121211023000

American Diabetes Association Professional Practice Committee. (2023, December 11). Summary of Revisions: Standards of Care in Diabetes 2024. https://diabetesjournals.org/care/ article/47/Supplement_1/S5/153943/Summary-of-Revisions-Standards-of-Care-in-Diabetes.

Bitew, Z. W., Alemu, A., Jember, D. A., Tadesse, E., Getaneh, F. B., Seid, A., & Weldeyonnes, M. (2023). Prevalence of Glycemic Control and Factors Associated with Poor Glycemic Control: A Systematic Review and Meta-analysis. 60, 1-15. https://doi.org/10.1177/00469580231155716

Fenta, E. T., Eshetu, H. B., Kebede, N., Bogale, E. K., Zewdie, A., Kassie, T. D., Anagaw, T. F., Mazengia, E. M., & Gelaw, S. S. (2023). Prevalence and Predictors of Chronic Kidney Disease among Type 2 Diabetic Patients Worldwide, Systematic Review and Meta-analysis. Diabetology & metabolic syndrome, 15(1), 1-12. https://doi.org/10.1186/s13098-023-01202-x

Gallardo-Gomez, D., Salazar-Martínez, E., Alfonso-Rosa, R. M., Ramos-Munell, J., del Pozo-Cruz, J., del Pozo Cruz, B., & Alvarez-Barbosa, F. (2024). Optimal Dose and Type of Physical Activity to Improve Glycemic Control in People Diagnosed with Type 2 Diabetes: A Systematic Review and Meta-analysis. Diabetes Care, 47(2), 295-303. https://doi.org/10.2337/dc23-0800

Guo, S. H., Hsing, H. C., Lin, J. L., & Lee, C. C. (2021). Relationships between Mobile eHealth Literacy, Diabetes Self-care, and Glycemic Outcomes in Taiwanese Patients with Type 2 Diabetes: Cross-sectional Study. JMIR mHealth and uHealth, 9(2), 1-13. https://doi.org/10.2196/18404

Hsieh, F. Y., Bloch, D. A., & Larsen, M. D. (1998). A Simple Method of Sample Size Calculation for Linear and Logistic Regression. Statistics in medicine, 17(4), 1623-1634. https://doi.org/10.1002/(sici)1097-0258(19980730)17:14<1623::aid-sim871>3.0.co;2-s

International Diabetes Federation. (n.d.). Diabetes around the world in 2021. https://idf.org/about-diabetes/diabetes-facts-figures/.

Jayedi, A., Zeraattalab-Motlagh, S., Jabbarzadeh, B., Hosseini, Y., Jibril, A.T., Shahinfar, H., Mirrafiei, A., Hosseini, F. & Shab-Bidar, S. (2022). Dose-dependent Effect of Carbohydrate Restriction for Type 2 Diabetes Management: A Systematic Review and Dose-response Meta-analysis of Randomized Controlled Trials. The American journal of clinical nutrition, 116(1), 40-56. https://doi.org/10.1093/ajcn/nqac066

Jiang, Q., Zhang, N., Zhang, H., Xiao, Y., Zhang, X., Gao, J., & Liu, Y. (2023). Impact of Off-hour Admission on the MACEs of Patients with Acute Myocardial Infarction. Clinical and Experimental Hypertension, 45(1), 1-6. https://doi.org/10.1080/10641963.2023.2186317

Khosravifar, M., Haemmerle, M. W., Sen, S., & Stoffers, D. A. (2024). 1746–P: Understanding the Pancreatic Islet Proteome in Response to Prolonged High-glucose Exposure. Diabetes, 73(1), 1746–P. https://doi.org/10.2337/db24-1746-P

Kyaw, M. Y., Aung, M. N., Koyanagi, Y., Moolphate, S., Aung, T. N. N., Ma, H. K. C., Lee, H., Nam, H. K., Nam, E. W., & Yuasa, M. (2024). Sociodigital Determinants of eHealth Literacy and Related Impact on Health Outcomes and eHealth Use in Korean Older Adults: Community-Based Cross-Sectional Survey. JMIR aging, 7, 1-13. https://doi.org/10.2196/56061

Latief, K., Nurrika, D., Tsai, M. K., & Gao, W. (2023). Body Mass Index Asian Populations Category and Stroke and Heart Disease in the Adult Population: A Longitudinal Study of the Indonesia Family Life Survey (IFLS) 2007 and 2014. BMC Public Health, 23(1), 1-11. https://doi.org/ 10.1186/s12889-023-17126-0

Lee, H., Han, K. D., & Shin, J. (2023). Association between Glycemic Status and Age-related Macular Degeneration: A Nationwide Population-based Cohort Study. Diabetes & Metabolism, 49(3), 1-7. https://doi.org/10.1016/j.diabet.2023.101442

Liu, L., Wang, F., Gracely, E. J., Moore, K., Melly, S., Zhang, F., & Eisen, H. J. (2020). Burden of Uncontrolled Hyperglycemia and Its Association with Patient’s Characteristics and Socioeconomic Status in Philadelphia, USA. Health Equity, 4(1), 525-532. https://doi.org/10.1089/heq.2020.0076

Norman, C. D., & Skinner, H. A. (2006). EHEALS: The eHealth literacy Scale. Journal of Medical Internet Research, 8(4), e27. https://doi.org/10.2196/jmir.8.4.e27

Ruangchaisiwawet, A., Bankhum, N., Tanasombatkul, K., Phinyo, P., & Yingchankul, N. (2023). Prevalence and The Association between Clinical Factors and Diabetes-Related Distress (DRD) with Poor Glycemic Control in Patients with Type 2 Diabetes: A Northern Thai cross-sectional study. Plos one, 18(11), 1-15. https://doi.org/10.1371/journal.pone.0294810

Sethupathi, P., Matetic, A., Bang, V., Myint, P. K., Rendon, I., Bagur, R., Diaz-Arocutipa, C., Ricalde, A., Bharadwaj, A., & Mamas, M. A. (2023). Association of Diabetes Mellitus and Its Types with In-Hospital Management and Outcomes of Patients with Acute Myocardial Infarction. Cardiovascular revascularization medicine: including molecular interventions, 52, 16-22. https://doi.org/10.1016/j.carrev.2023.02.008

World Health Organization. (2023, April 5). Diabetes. https://www.who.int/news-room/fact-sheets/ detail/diabetes.