ประสิทธิผลมาตรการลดความสูญเสียจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

Main Article Content

เจษฎา อังกาบสี
ชุติมา ปัญญาพินิจนุกูร
นิติบดี ศุขเจริญ

บทคัดย่อ

การทบทวนขอบเขตผลงานวิจัยประสิทธิผลมาตรการลดความสูญเสียจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์งานวิจัย หาประสิทธิผลมาตรการลดความสูญเสียจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ โดยสังเคราะห์จากงานวิจัยในช่วงปี พ.ศ. 2547-2566 จำนวน 5 บทความ ผลการวิจัยพบว่า มาตรการภาษีและราคา มาตรการควบคุมการจำหน่าย ได้แก่ กำหนดอายุผู้ซื้อ รัฐผูกขาดการจำหน่าย กำหนดวัน เวลาจำหน่าย เป็นต้น และมาตรการควบคุมการโฆษณา โดยเฉพาะการห้ามโฆษณา ได้ผลในเชิงบวก คือมีประสิทธิผลอย่างยิ่ง แต่ในการให้ความรู้ หรือรณรงค์ และมาตรการควบคุมการเมา ยังมีความไม่แน่นอนของวิธีการ ที่ได้ผลและไม่ได้ผล  จึงควรศึกษาวิจัยเพิ่มเติมในเรื่อง ประสิทธิผลของการให้ความรู้ หรือรณรงค์ และมาตรการควบคุมการเมาที่ยังไม่ได้ข้อสรุปที่แน่นอนดังกล่าว เพื่อเป็นแนวทางในการวิจัยต่อไป

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กฤตติกา เศวตอมรกุล. (9-10 กรกฎาคม, 2563). การควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในสถานการณ์โควิด 19 ของประเทศไทย [Paper]. งานประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่12 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม จังหวัดนครปฐม.

กัญญา สุดเสมอใจ. (2562). มาตรการควบคุมผู้มึนเมาในที่สาธารณะ. วารสารบัณฑิตศึกษานิติศาสตร์, 12(2), 227-236.

กัณณพนต์ ภักดีเศรษฐกุล, สุรศักดิ์ ไชยสงค์, โศภิต นาสืบ, ทักษพ ธรรมรังสี และศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์. (2562). การศึกษาผลจากการดำเนินนโยบายงานศพปลอดเหล้าในจังหวัดลำปาง. วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข, 13(2), 145-156.

กัตติกา รอดเส็ง. (2563). ปัญหาทางกฎหมายในการกำหนดโทษบุคคลที่เกี่ยวข้องกับผู้ขับขี่ขณะเมาสุรา ตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522. วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์, 5(3), 149-159.

กาญจนา เลิศถาวรธรรม, กรรณิการ์ กิจนพเกียรติ และเยาวลักษณ์ มีบุญมาก. (2565). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถของตนเอง และแรงจูงใจในการเลิกดื่มสุราของผู้ติดสุราที่เข้ารับการรักษาที่ โรงพยาบาลราชบุรี. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี, 5(1), 85-97.

จรัสพงศ์ คลังกรณ์ และสมเดช มุงเมือง. (2562). แนวทางเพื่อการลดอุบัติเหตุจากกรณีผู้ขับขี่รถในขณะเมาสุรา. วารสารวิชาการ สถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค, 6(1), 95-106.

จิราลักษณ์ นนทารักษ์. (2564). แนวโน้มสถานการณ์การเจ็บป่วยและเสียชีวิตอันมีสาเหตุ เกี่ยวข้องกับการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประเทศไทยปี 2558-2562. ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา.

ดาวสยาม วชิรปญฺโญ, ชาญชัย เพียงแก้ว, ทรงวุฒิ ประสานวงศ์, พิพัฒน์ คันธา และภาสกร ดอกจันทร์. (2563). การเสริมสร้างสุขภาวะและเครือข่ายทางสังคมเพื่อลดเหล้า บุหรี่เชิงพุทธบูรณาการ ในจังหวัดขอนแก่น. วารสารวิชาการ มจร บุรีรัมย์, 5(1), 133-147.

ตรีทิพย์ รัตนวรชัย. (2557). พิษแอลกอฮอล์เชิงชีวเคมี. ธรรมศาสตร์เวชสาร, 14(3), 405-430.

บุญศิริ จันศิริมงคล, พันธุ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์, สุนันท์ จำรูญสวัสดิ์ และโสฬวรรณ อินทสิทธิ์. (2564). การเข้าถึงบริการและความพร้อมการจัดบริการสำหรับผู้มีปัญหาการดื่มสุราของระบบบริการสาธารณสุข. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย, 29(4), 345-57.

ประพักตร์ เนรมิตพิทักษ์กุล, ชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์, จอมขวัญ โยธาสมุทร, อุษา ฉายเกล็ดแก้ว, มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์ และยศ ตีระวัฒนานนท์. (2550). ผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพจากการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประชากรไทย. วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข, 2(4), 594-602.

ปัญญา สุทธิยุทธิ์ และจิดาภา ถิรศิริกุล. (2565). ทัศนคติของประชาชนที่มีต่อการดำเนินนโยบายเมาไม่ขับในพื้นที่ อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม, 9(2), 294-302.

ยงยุทธ ขจรธรรม และบังอร ฤทธิภักดี. (2547). ชุดข้อมูลเพื่อการพัฒนานโยบายสาธารณะ นโยบายและมาตรการในการควบคุมการบริโภคแอลกอฮอล์. มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ.

วรรณา ยงพิศาลภพ. (ม.ป.ป.). แนวโน้มธุรกิจ/อุตสาหกรรม ปี 2565-67 อุตสาหกรรมเครื่องดื่ม. Krungsri Research, https://www.krungsri.com/getmedia/15d97281-3a4e-40e8-a226-9f43b6bdfad2/IO_Beverage_220130_TH_EX.pdf.aspx.

วรานิษฐ์ ลำไย และเชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล. (2561). รูปแบบการแข่งเรือปลอดเหล้าในจังหวัดน่าน. วารสารคุณภาพชีวิตกับกฎหมาย, 14(2), 66-76.

วีรนุช ว่องวรรธนะกุล. (2553). การควบคุมการเข้าถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์: นโยบายสาธารณะที่มีประสิทธิผลและความคุ้มค่า. วารสารวิจัยสาธารณสุข, 4(4), 578-580.

ศรีรัช ลอยสมุทร. (2561). การศึกษาสถานการณ์ การติดตามการเปลี่ยนแปลงหลังการบังคับใช้กฎหมาย และผลกระทบของร้านเหล้ารอบสถานศึกษาในกรุงเทพมหานคร ปริมณฑล และภูมิภาค. วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข, 4(3), 417-430.

ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา. (2565). แบบแผนและแนวโน้มพฤติกรรมการดื่มสุราของประชากรไทย. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาสถานการณ์เณ์เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของศูนย์วิจัยปัญหาสุรา. ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หาดใหญ่ สงขลา.

สมคิด นันต๊ะ และบัณฑิกา จารุมา. (2562). การวิเคราะห์ช่องทางการสื่อสารโน้มน้าวใจในการณรงค์งดเหล้าเข้าพรรษาของหน่วยงานรัฐในอำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 5(2), 107-116.

สมัย โกรทินธาคม. (2560). ความรับผิดทางแพ่งของผู้ขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ต่อผู้เสียหายจากอุบัติเหตุทางรถยนต์โดยลูกค้าที่เมาจากร้านเป็นผู้ขับ. Veridian E-Journal, Silpakorn University (ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ), 10(2), 1530-1543.

สาธิต ปิตุเดชะ. (2565, 4 กรกฎาคม). คณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เห็นชอบจัดกิจกรรมวันงดดื่มสุราแห่งชาติและข้อเสนอจำหน่ายเหล้าอย่างรับผิดชอบ. รัฐบาลไทย, https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/56512.

คณะกรรมการควบคุมการบริโภคยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เขตสุขภาพที่ 8 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดอุดรธานี. (2563). ถอดบทเรียน การดำเนินงานควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ ของเขตพื้นที่สุขภาพที่ 8 ปี 2563. สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดอุดรธานี.

สิทธินันท์ ตัณจักรวรานนท์. (2564). ปัจจัยการเลิกดื่มสุราและแนวโน้มช่วงเวลาในการเลิกดื่มสำเร็จของผู้มารับบริการที่คลินิกสุขภาพใจโรงพยาบาลสระบุรีระหว่างปี พ.ศ. 2560-2562. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 66(4), 455-468.

สิริกร นามลาบุตร และวรานิษฐ์ ลำไย. (2561). ลักษณะของภัยเหล้ามือสองที่เกิดจากการดื่มของเยาวชนในสถานศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดหนองคาย. วารสารคุณภาพชีวิตกับกฎหมาย, 14(2), 94-108.

สิริกร นามลาบุตร และวรานิษฐ์ ลำไย. (2560). มาตรการในชุมชนเพื่อควบคุมการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และการเข้าถึงทั้งในระบบตลาดและทางสังคมในจังหวัดหนองคาย. วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข, 3(3), 271-287.

สุรศักดิ์ มีบัว. (2561). การกาหนดอัตราโทษที่เหมาะสมสาหรับผู้ขับขี่รถในขณะมึนเมาสุราเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น. วารสารการเมืองการปกครอง, 8(2), 116-130.

Anderson, P., & Baumberg, B. (2006). Alcohol in Europe. Institute of Alcohol Studies.

Babor, T. F., Casswell, S., Graham, K., Huckle, T., Livingston, M., Osterberg, E., Rehm, J., Room, R., Rossow, I., & Sornpaisarn, B. (2023). Alcohol: No Ordinary Commodity (3rd ed.). Oxford University.

Brand, D. A., Saisana, M., Rynn, L. A., Pennoni, F., & Lowenfels, A. B. (2007). Comparative analysis of alcohol control policies in 30 countries. PLoS Med, 4(4), e151.

Hfocus เจาะลึกระบบสุขภาพ. (2022, 16 August). ครม. อนุมัติแผนปฏิบัติการควบคุมแอลกอฮอล์ระดับชาติ 2565 - 2570 เล็งขึ้นภาษีตามอัตราเงินเฟ้อ. https://www.hfocus.org/content/2022/08/25764.

Korcha, R. A., Witbrodt, J., Cherpitel C. J., Ye, Y., Andreuccetti, G., Kang, J., & Monteiro, M. (2018). Development of the International Alcohol Policy and Injury Index. Revista Panamericana de Salud Publica, 42, e6.

Luty, J. (2016). Alcohol policy and public health. BJPsych Advances, 22, 402-411.