การประเมินความเสี่ยงทางอาชีวอนามัยโดยเมตริกความเสี่ยงต่อสุขภาพและผลการยืดเหยียดกล้ามเนื้อต่อการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อส่วนล่างของผู้ประกอบอาชีพทอผ้ามือ อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

Main Article Content

ธวัชชัย ดาเชิงเขา
อรุณรัตน์ ปัญจะ กลิ่นเกษร
พัชราวรรณ จันทร์เพชร

บทคัดย่อ

This study aimed to assess the occupational health risks matrix and the effect of stretching on lower muscle pain among handmade weaving occupations, Selaphum district, Roi-Et province. There were studied general data and health risk factors in 67 handmade weavers by using interviews with personal characteristics, working environmental, symptom level and frequency of muscle pain assessing form, and occupational health risk level assessed by risk matrix. The stretching muscles program was designed as quasi-experimental study among 37 volunteers. All samples were analyzed STATA-10 program. The results showed that 41 workers (61.19%) had muscle pain on the unacceptable level in the hip area, increasing age and mass body index was associated with hip muscle aching scoring, statistically significant (p-value <0.05). As a result of the muscles stretching program, most of the lower muscle pain symptoms and frequency aching scoring were decreased to acceptable levels. There were decreased mean occupational health risk scoring by risk matrix from 6.81 (± 4.95) to 3.08 (± 2.61) on hip muscle, and 6.97 (± 5.20) to 2.84 (± 2.76) on knees and calves’ muscle, statistically significant (p-value <0.001). Therefore, stretching the muscles can help reduce pain in work-related lower muscles.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงสาธารณสุข. (2563). รายงานสถานการณ์โรคระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ. กระทรวงสาธารณสุข. https://hdcservice.moph.go.th/

กิตติทัต สุดชู, ไชยนันต์ แท่งทอง, วราภรณ์ คำยอด, และ สรา อาภรณ์. (2563). ระดับการปวดของระบบกล้ามเนื้อและกระดูก และปัจจัยจากการทำงานในกลุ่มผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์รับจ้างเพศชาย ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร. วารสารความปลอดภัยและสุขภาพ, 13(2), 158-75.

ณัฐพงษ์ ฤทธิ์น้ำคำ และกาญจนา นาถะพินธุ. (2550). ปัญหาสุขภาพจากการทำงานและการดูแลสุขภาพจากลุ่มอาชีพทอผ้าไหม อำเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับบัณฑิต ศึกษา, 7(3), 83-97.

ณัฐพล ทนุดี, น้ำเงิน จันทรมณี, และ บุญลือ ฉิมบ้านไร่. (2561). ผลของโปรแกรมการจัดการด้านการยศาสตร์ ต่อการแก้ไขอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อจากการงานของกลุ่มสตรีปักผ้าชาวไทยภูเขา อำเภอปง จังหวัดพะเยา. วารสารพยาบาลการสาธารณสุขและการศึกษา, 19(2), 137-140.

นันทพร เมฆสวัสดิชัย, ตรีอมร วิสุทธิศิริ, และ ณัฐวุฒิ แดงสวัสดิ์. (2554). การประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพและพฤติกรรมการป้องกันอันตรายในการทำงานของกลุ่มแรงงานนอกระบบในจังหวัดนครราชสีมา. วารสารควบคุมโรค, 37(3), 151-59.

น้ำเงิน จันทรมณี, สสิธร เทพตระการพร, และ ผกามาศ พิริยะประสาทน์. (2557). ปัญหาจากการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อจากการทำงานของกลุ่มอาชีพทอผ้าด้วยมือในเขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย. วารสารความปลอดภัยและสุขภาพ, 7(24), 29-40.

พัชรินทร์ ใจจุ้ม. 2558. ประสิทธิผลของการยืดเหยียดกล้ามเนื้อร่วมกับการให้ความรู้ด้านการยศาสตร์เพื่อลดอาการปวดเมื่อยหลังและเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลังของคนงานทอผ้าด้วยมือ ตำบลแม่แรง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยนเรศวร.

พัชรินทร์ ใจจุ้ม และทัศน์พงษ์ ตันตัญจพร. (2561). ประสิทธิผลของการจัดโปรแกรมการยืดเหยียดกล้ามเนื้อร่วมกับการให้ความรู้ด้านการยศาสตร์เพื่อลดการปวดเมื่อยหลังและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลังของคนงานทอผ้ามือ ตำบลแม่แรง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 20(3), 29-39.

ศุภวิช นิยมพันธุ์. (2557). การออกแบบและปรับปรุงทำงานตามหลักการยศาสตร์ กรณีศึกษาการทอผ้าไหมยกทองหมู่บ้านท่าสว่าง จังหวัดสุรินทร์. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. (2558). ผลกระทบของโรคระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อจากการประกอบอาชีพ. สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. http://envocc.ddc.moph.go.th/index

Banerjee P., & Gangopadhyay S. (2003). A study on the prevalence of upper extremity repetitive strain injuries among the handloom weavers of West Bengal. J Hum Ergol (Tokyo), 32(1), 17-22.

Dianat I., & Karimi M.A. (2016). Musculoskeletal symptoms among handicraft workers engaged in hand sewing tasks. Journal of Occupational Health, 58(6): 644-52.

Dianat I. & Salimi A. (2014). Working conditions of Iranian hand-sewn shoe workers and associations with musculoskeletal symptoms. Ergonomics, 57(4), 602-11.

Nazari J., Mahmoudi N., Dianat I., & Graveling R. (2012). Working Conditions in Carpet Weaving Workshops and Musculoskeletal Complaints among Workers in Tabriz - Iran. Health Promotion Perspectives, 2(2), 265-73.